Page 57 -
P. 57

คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                       ิ
                                     ู
                                                       ู
                                        ิ
                                                                     ุ
                                     ้
                                     ระบบเบิกจายยืมคืนวัสดุออนไลน








                       อ  ย ด ั ค ท บ


                ระบบเบิกจายยืมคืนวัสดุออนไลน สํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดแยกสวนงาน ออกเปน 2 สวนหลัก
         คือ สวนของการจัดเก็บขอมูลพัสดุคงคลัง และ สวนการจัดเก็บวัสดุคงคลัง ในระบบเบิกจายยืมคืนวัสดุออนไลน

                                                                                ี
              ี
                                                                  ี
         จะเก่ยวของกับการจัดเก็บวัสดุคงคลัง ผูจัดเก็บขอมูลจะมีหนาท่จัดเก็บขอมูลท่สําคัญใหเปนระบบลงในฐานขอมูล
         เชน ขอมูลผูใชงานระบบ ขอมูลวัสดุอุปกรณ ขอมูลการเบิกจายวัสดุอุปกรณเปนตน สวนในดานของการเบิกจายวัสด ุ
           ั
         น้นจะเปนการตรวจสอบถึงรายละเอียดการเบิกจายวัสดุอุปกรณการออกรายงานยอดการเบิกจายวัสดุอุปกรณ จะเปน
                                                ื
         การสรุปยอดการเบิกจายวัสดุอุปกรณ เพ่อการประเมินการใชวัสดุ และการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณตาง ๆ ไว
            ื
         เพ่อประหยัดคาใชจายและคาดการณการใชงบประมาณ ซ่งระบบนี้ จัดทําในรูปแบบ เว็บแอปพลิเคชัน ออนไลน
                                                              ึ
                                              ั
         ผูใชงานสามารถเขาถึงไดทุกท่ทุกเวลา ดังน้นระบบนี้ จะพัฒนาคุณภาพการเบิกจายยืมคืนวัสดุ โดยการพัฒนาเปนระบบ
                                   ี
         ดวยการใชหลักการตามทฤษฎีของ SDLC ดวย ภาษา PHP, HTML, JavaScript บริหารจัดการฐานขอมูล ดวย MySQL
         เปนหลัก เพื่อ ตอบโจทยของกลุมเปาหมาย คือ บุคลากรภายในสํานักหอสมุด จํานวน 109 คน ดวยการประเมินการ
         ใชงาน ในดานการหาคาเฉล่ย และคาสวนเบ่ยงเบนมาตรฐาน สวนในเร่องผลการศึกษาการนําไปใชงานน้น สามารถ
                                  ี
                                                                        ื
                                                ี
                                                                                                      ั
                             ึ
         ทําตามวัตถุประสงค ซ่งสํานักงาน สามารถทําการเบิกจายและยืมวัสดุอุปกรณ และควบคุมการออกรายงานการเบิกจาย
         ยืมคืนตอผูบริหาร ซึ่งเปนสวนสําคัญในการบริหารการจัดการวัสดุคงคลังในสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
              บทนํา



                การบริหารจัดการวัสดุคงคลัง ใชเอกสารในการเบิกใช ยืมคืน โดยจัดเก็บในรูปแบบเอกสารหรือขอมูลบน
         อิเล็กทรอนิกสสวนบุคคลและไมไดจัดเก็บขอมูลรายการวัสดุในรูปแบบฐานขอมูล เชนการรายงานวัสดุคงคลังคงเหลือ

                                                   ื
         การประมาณการการใชงบประมาณประจําปเพ่อประกอบการจัดหาวัสดุมาชวยในการปฏิบัติงาน ฯลฯ สงผลใหไม
              วัตถุประสงค
         สามารถสรุปรายงานวัสดุอุปกรณคงเหลือไดทันที และไม สามารถตรวจสอบปริมาณการใชวัสดุอุปกรณแตละประเภท
                              ี
         ไดทันทีเน่องจากขอมูลท่บันทึกเปนการเก็บขอมูลแบบเอกสาร อาจตองใชเวลาในการคนหาขอมูล หรือเกิดการผิดพลาด
                  ื
         หรือเกิดการสูญหาย ตลอดจนผูปฏิบัติงานท่ตองการใชขอมูลเพ่อบริหารวัสดุคงคลังประกอบการจัดทํารายงานตอ
                                                 ี
                                                                  ื
         ผูบริหารไมสามารถเขาถึงขอมูลไดหรือสงผลใหเกิดความลาชาในการจัดการบริหารขอมูลไดดีเทาที่ควร

                                                                            ื
                ดังน้น จึงมีแนวคิดในการพัฒนาระบบเบิกจายยืมคืนวัสดุออนไลน เพ่อใหผูใชงานทําการเบิกจายวัสดุอุปกรณ
                    ั
                                     ิ
                                        ึ
         ไดงาย สะดวกและรวดเร็วมากย่งข้น พรอมท้งสรุปรายงานวัสดุ คงเหลือไดทันที และหรือปริมาณการใชวัสดุอุปกรณ
                                                 ั
         แตละประเภท ไดอยางถูกตองครบถวน และเปน ขอมูลท่นาเช่อถือได มีประสิทธิภาพ และประมาณการการใช
                                                              ี
                                                                   ื
         งบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพ









                                                           57
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62