Page 114 -
P. 114

ิ
                                       ิ
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                                                     ุ
                                                       ู
                                     ู
                                     ้
                    ระบบสารสนเทศเพ�่อการบร�หารและสนับสนุนการตัดสินใจ
                  ของผูŒบร�หารภายใตŒกรอบแนวความคิดสถาป˜ตยกรรมองคกร
                   ETO Smart for Management and Decision Support
                  System under the concept of Enterprise Architecture




               ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน


                กระบวนการการออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศ เพ่อการบริหารและสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหาร
                                                                   ื
         ของสำนักสงเสริมและฝกอบรม แบงการพัฒนาออกเปน 3 เฟส หลักๆ ดังนี้ คือ เฟส 1 ดำเนินการในปงบประมาณ 2564

                                                                                          ึ
                                                             ี
         เฟสท่ 2 ดำเนินการในปงบประมาณ 2565 - 2566 และเฟสท่ 3 ปงบประมาณ 2567 - 2568 ซ่งมีการดำเนินงานหลัก ๆ
              ี
         6 ขั้นตอน ดังนี้
                1. วิเคราะหความตองการผูใช (เฟส 1)
                2. การวางแผนพัฒนาระบบ (เฟส 1)
                3. การออกแบบระบบแบบคูขนาน (เฟส 1 และเฟส 2 บางสวน)

                4. ทรัพยากรที่ใช (เฟส 1 และเฟส 2)
                5. การนำระบบไปใชงาน (เฟส 1 เฟส 2 และเฟส 3)

                6. การบำรุงรักษา (เฟส 3)






                                                                     ั
                                                                                            ี
                การพัฒนาระบบสารสนเทศของสำนักสงเสริมและฝกอบรมน้น ยังมีระบบอีกหลายสวนท่ยังไมมีการเชื่อมตอกัน
                                                                               ั
                                                                                 ี
                                                        ี
                                                               ั
         ณ ปจจุบันอยูในชวงระหวางการดำเนินการในเฟสท่ 1 ดังน้นการพัฒนาในคร้งน้อาจยังไมครอบคลุมระบบทั้งหมด
                           ี
         จึงจำเปนอยางย่งท่ตองมีการพัฒนาใหระบบท้งหมดสามารถเช่อมตอกันเพ่อการนำเสนอขอมูลท่เกิดประสิทธิผล
                                                                                                 ี
                                                                             ื
                                                                   ื
                        ิ
                                                   ั
                                                                                            ี
                                ึ
         และมีประสิทธิภาพเพ่มข้น สามารถชวยใหสำนักสงเสริมและฝกอบรมบรรลุวัตถุประสงคท่วางไว นำองคกรไปสู
                             ิ
         ความสำเร็จโดยมุงเนนใหบุคลากรและผูรับบริการ ไดรับความสะดวก รวดเร็ว ขอมูล มีความซ้ำซอนนอยท่สุด
                                                                                                             ี
         ใชงานงาย และระบบมีเสถียรภาพในการใชงาน
                แนวทางการพัฒนาระบบตอไป ระบบควรสามารถตัดสินใจไดวาขอมูลใดมีประสิทธิภาพมากท่สุดจาก
                                                                                                        ี
         การประมวลผล เพ่อใหผูใชงานสามารถนำขอมูลไปใชงานใหเกิดประโยชนกับสวนงานสูงสุด และระบบควรม         ี
                           ื
         การแสดงผลของขอมูลท่รวดเร็ว ถูกตอง ตอบสนองตรงตามความตองการและมีความแมนยำ รวมท้งทางดาน
                                                                                                      ั
                                ี
                ั
                                                                                        ี
         ความม่นคงปลอดภัยก็เปนส่งท่มีความสำคัญอยางย่ง ในการพัฒนาระบบใหเปนระบบท่ชวยสนับสนุนการบริหาร
                                                        ิ
                                     ี
                                   ิ
         และการบริการวิชาการของสำนักสงเสริมและฝกอบรม
                     ื
                ในเร่องของความม่งคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศมีแนวโนมท่จะรุนแรงข้นเร่อย ๆ จึงควรมีการวางแผน
                                 ั
                                                                                       ื
                                                                                    ึ
                                                                          ี
                                         ี
                                                ึ
           ื
                                     ี
                          ื
         เพ่อหาวิธีปองกันเพ่อลดความเส่ยงท่จะเกิดข้น เพื่อใหสำนักสงเสริมและฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สามารถ
         ดำเนินกิจกรรม  ตามภารกิจท่ไดวางไวไดอยางตอเน่อง ดังน้นผูบริหารและบุคลากร ตองใหความสำคัญกับ
                                                            ื
                                                                   ั
                                      ี
         เรื่องดังกลาวเพิ่มขึ้นเพื่อเตรียมรับมือกับปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
                                                          114
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119