Page 23 -
P. 23
ิ
ู
ุ
ิ
คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์ Activities 023
ู
้
“การพัฒนาการฉีดวัคซีนภาคสนามของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
ิ
ี
�
เร่มจากแนวคิดว่า ‘จะทาอย่างไรให้ฉีดวัคซีนได้เร็วท่สุด?’ รูปแบบ
จึงออกมาเป็นการฉีดวัคซีนหน่วยเล็ก ๆ หากเป็นพ้นท่ใหญ่
ี
ื
�
ก็ค่อยขยายขนาด และ ‘ทาอย่างไรให้คนไม่แออัดคับค่ง?’
ั
ั
เพราะมีโอกาสท่จะเกิดคลัสเตอร์ใหม่ได้ ฉะน้น เราเลยประหยัด
ี
พื้นที่และเวลา ด้วยการให้คนมารับวัคซีนนั่งอยู่กับที่แล้วให้ทีม
�
บุคลากรทางการแพทย์เดินแทน ทาให้ศูนย์บริการฉีดวัคซีนแห่งน ี ้
ี
มีจุดรอเพียงจุดเดียวคือตอนรอเข้าเท่าน้น และเน้นไปท่การ
ั
บริหารช่วงเวลาเข้ามารับวัคซีนมากกว่า โดยได้รับการพัฒนา
ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ ในขณะเดียวกันก็ต้องใช้แรง
ื
ี
�
ั
ื
สนับสนุนอ่นด้วย ท้งทีมวัดความดัน ทีมดูแลพ้นท่ ทีมทาความสะอาด
ซ่งได้ ศ.พญ.จิรพร เหล่าธรรมทัศน์ คณบดีคณะเทคโนโลย ี
ึ
วิทยาศาสตร์สุขภาพมาร่วมมือในส่วนนี้” ศาสตราจารย์คลินิก
พญ.โฉมศรี โฆษิตชัยวัฒน์ อธิการบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์
เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ กล่าวเสริม
ื
ี
ด้วยปริมาณของคนท่เข้ามารับบริการระดับหลักหม่นคน
ี
ต่อวัน การจัดการเร่องข้อมูลจึงเป็นอีกงานใหญ่ท่ต้องทราบ
ื
�
ต้งแต่จานวนผู้ลงทะเบียนในแต่ละวัน เพ่อประสานกับทีมแพทย์
ั
ื
ในการจัดการวัคซีนและรอบฉีดวัคซีนให้ลงตัว ก่อนจะส่งข้อความ
แจ้งเตือนนัดหมายวันและเวลาไปตามเบอร์โทรศัพท์ของทุกคน
พร้อม ๆ กับการประสานงานไปทางแอปพลิเคชัน CRA Care
�
ี
โดย AIS ท่ใช้สาหรับลงทะเบียนฉีดวัคซีนสาหรับศูนย์บริการ
�
ฉีดวัคซีนแห่งนี้โดยเฉพาะ
Kasetsart University