Page 98 -
P. 98

ิ
                                                                   ิ
                              ื
                                 ิ
                                               ์
                                                                                ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                 2) การรวบรวมข้อมลทุติยภูมเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยทั้งที่ดินกรรมสิทธิ์หรือ
                                  ู
                                          ิ
                                                            ี
                    สิทธิครอบครองของประชาชน และที่ดินรัฐ ที่มการสร้างสวนไม้เศรษฐกิจ

                         2.1) สถานภาพทางกฎหมายของทดินในประเทศไทย
                                                      ี่


                         ที่ดินในประเทศไทยสามารถจำแนกโดยใช้กฎหมายเป็นฐานได้ 2 ประเภท ได้แก่ ที่ดินของรัฐ และ

                 ที่ดินกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน โดยสรุปได้ดังนี้ (คณะกรรมการปรับปรุงแผนที่
                 แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1 : 4000 (One map), 2559)


                                 2.1.1) ที่ดินของรัฐ



                                ที่ดินป่าไม้ของรัฐตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ซึ่งมีบทบัญญัติในมาตรา 4 ว่า
                 “ป่า” หมายความว่า ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลได้มาตามกฎหมายที่ดินนั้น และคณะกรรมการปรับปรุงแผนที่แนว

                 เขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1 : 4000 (One map) (2559) ได้รายงานว่า ที่ดินของรัฐ หมายถึง

                 ที่ดินที่รัฐเป็นเจ้าของ และอยู่ภายใต้การกำกับดูแลและบริหารจัดการโดยหน่วยงานรัฐ ซึ่งการบริหารจัดการ
                     ี
                 จะมกฎหมายที่ให้อำนาจหน่วยงานเป็นการเฉพาะในการดูแลรักษา ได้แก่

                                       (1) ที่ดินป่าไม้ มีหน่วยงานรับผิดชอบและมีอำนาจดูแล เช่น กรมป่าไม้ มีอำนาจดูแล

                   ื้
                 พนที่ป่า ตามมาตรา 4 (1) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พทธศักราช 2484 ป่าสงวนแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติ
                                                              ุ
                 ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 กรมอทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนธุ์พช มีอำนาจหน้าที่ดูแลอทยานแห่งชาติ
                                                                        ั
                                                                                               ุ
                                                                            ื
                                               ุ
                 เขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ตามพระราชบัญญัติอทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562
                                                                                  ุ
                            ั
                 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562  เป็นต้น
                                       (2) ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินเพอเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) มีสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพอ
                                                                                                          ื่
                                                              ื่
                 เกษตรกรรมเป็นหน่วยงานที่มีอำนาจดูแล ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518
                                       (3) ที่ดินนิคมสร้างตนเอง มีกรมพฒนาสังคมและสวัสดิการเป็นหน่วยงานที่มี
                                                                     ั
                                                   ื่
                 อำนาจดูแลตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพอการครองชีพ พ.ศ. 2511
                                       (4) ที่ดินนิคมสหกรณ์ มีกรมส่งเสริมสหกรณ์เป็นหน่วยงานที่มีอำนาจดูแล

                 ตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511
                                       (5) ที่ดินราชพสดุ มีกรมธนารักษ์เป็นหน่วยงานที่มีอำนาจดูแลแทน
                                                     ั
                 กระทรวงการคลัง ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ ตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518

                                        (6) ที่ดินทางหลวง มีกรมทางหลวงเป็นหน่วยงานที่มีอำนาจดูแล ตามพระราชบัญญัติ
                 ทางหลวง พ.ศ. 2535


                                                              85
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103