Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการศึกษาการฟื้นตัวของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งช่วงวิกฤติการณ์โควิด-19 และแนวนโยบายเพื่อการใช้ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ตารางที่ 3.15 สถานการณ์การฟื้นตัวของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19
(ต่อ)
จังหวัด พื้นที่ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง แหล่งข้อมูล
กระบี่ หมู่เกาะห้อง ปลาฉลามครีบดำหรือปลาฉลามหูดำ ไทยรัฐออนไลน์
จำนวนหลายสิบตัว และมีปลาหลากหลาย (2563)
ชนิด เช่น ปลากระบอก ปลาสลิดหิน
ปลาสลิดบั้งเขียวเหลือง ปลากระโทง
กระบี่ อ่าวมาหยา ฉลามหูดำ ประมาณ 50 ตัว อุทยานแห่งชาติ
หมู่เกาะพีพี หาดนพรัตน์ธารา-
หมู่เกาะพีพี (2563)
กระบี่ อุทยานแห่งชาติ วาฬเพชฌฆาตดำฝูงใหญ่ 10-15 ตัว ไทยโพสต์ (2563)
หมู่เกาะลันตา และฉลามวาฬ (ครั้งแรกที่มีการพบเจอ
วาฬเพชฌฆาตดำในเขตอุทยานแห่งชาติ
หมู่เกาะลันตา)
ตรัง เกาะลิบง - พะยูน จำนวน 31 ตัว และเต่าทะเล ศูนย์ปฏิบัติการ
จำนวน 2 ตัว (บริเวณแหลมจูโหย) อุทยานแห่งชาติ
- พะยูน จำนวน 1 ตัว และเต่าทะเล ทางทะเล ที่ 3 จ.ตรัง
จำนวน 2 ตัว (บริเวณหาดมดตะนอย) (2563)
- โลมา จำนวน 2 ตัว (บริเวณหาดยาว)
สุราษฎร์ธานี เกาะเต่า - ฉลามวาฬยักษ์ ไทยพีบีเอส (2563ข)
- ฝูงฉลามครีบดำหรือฉลามหูดำ โพสต์ทูเดย์ (2563)
ประมาณ 20-30 ตัว
- ปะการังเขากวางอ่อน ปะการังสมอง
รวมทั้งปะการังอื่นอีกมากมาย
ได้ฟื้นตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว
สุราษฎร์ธานี เกาะสมุย ลูกเต่าตนุจำนวน 202 ตัว เนชั่นทีวี (2563)
(เต่าตนุเพศเมียวางไข่หลังหายไปนาน 6 ปี)
ที่มา : รวบรวมข้อมูลโดยคณะผู้วิจัย (2563)
จากตารางที่ 3.15 ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างเช่นชายหาดได้รับ
การเยียวยาและฟื้นฟูกลับสู่สภาพธรรมชาติมากขึ้น ในขณะเดียวกันนั้นสัตว์น้ำโดยเฉพาะสัตว์ทะเลหายาก
และใกล้สูญพันธ์ในพื้นที่ท่องเที่ยวหลายแห่งมีรายงานการพบเจอจำนวนสัตว์น้ำมากขึ้น ในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั้งนี้ อาจเป็นผลเนื่องมาจากการปิดเกาะและสถานที่ท่องเที่ยวทั้งหมด ทำให้
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งไม่ถูกรบกวนจากนักท่องเที่ยวหรือกิจกรรมของมนุษย์
48 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย