Page 29 -
P. 29
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จํากัดความสั้น ๆ ของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร คือ “ระบบการจัดการฐานขอมูลขาวสารที่
สามารถอางอิงตําแหนงบนโลกได”
วิธีการจําลองขอมูลและขาวสารในโลกแหงความเปนจริงดวยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรจะมีการ
จัดจําลองขอมูลขาวสารในรูปแบบของตัวแทนขอมูลเชิงพื้นที่ หรือวัตถุเชิงพื้นที่ ซึ่งมีการเชื่อมโยงดวย
ขอมูลที่อธิบายถึงขอมูลขาวสารที่สัมพันธกับขอมูลเชิงพื้นที่นั้น ๆ หรือเรียกวาขอมูลอรรถาธิบาย ดังนั้น
ขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตรโดยทั่วไปจะเปนการกลาวถึงขอมูลเชิงพื้นที่ หรือวัตถุเชิงพื้นที่ การ
จําแนกตัวแทนของวัตถุเชิงพื้นที่ ซึ่งแบงตามลักษณะการถายทอด/มุมมอง ไวเปนสองประเภทคือ “Field
View” หมายถึงมุมมองในรูปของแรสเตอร และ “Object View” หมายถึงมุมมองในรูปของวัตถุหรือรูป
ของเวกเตอร
ในบทนี้ยังไดกลาวถึง นิยามศัพท/แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศทางภูมิศาสตร ที่จําเปนเชน
- มาตราสวน หมายถึง อัตราสวนระหวางระทางที่แทนอยูบนแผนที่ตอระยะทางจริงบนผิวโลก
สามารถแบงไดเปน 2 รูปแบบคือ มาตราสวนขนาดเล็ก และ มาตราสวนขนาดใหญ
- Pixel resolution หมายถึง ความละเอียดของจุดเซลลบนภาพที่สามารถจําแนกวัตถุออกจาก
กันได
- MMU คือ หนวยที่เล็กที่สุดของแผนที่ หมายถึงขนาดของวัตถุที่เล็กที่สุดในแผนที่ที่สามารถ
จําแนกวัตถุได
- Detectability Distance หมายถึง ความสามารถในการตรวจวัดระยะบนแผนที่ หรือ คาความ
ละเอียดที่สามารถวัดไดบนแผนที่
การผลิตแผนที่ใหมีความเหมาะสมกับการใชงานควรจะพิจารณาถึงวิธีการหามาตราสวนที่เหมาะสมซึ่ง
ถือวาเปนเรื่องที่สําคัญมากโดยจะพิจารณาจากขนาดของวัตถุจริงที่เล็กที่สุดที่จะสามารถบรรจุไดใน
แผนที่ สวนวิธีการคํานวณหาคามาตราสวนที่เหมาะสมไดบรรจุเนื้อหาในบทนี้ดวย
นักวางแผนสามารถใชศักยภาพของ GIS เปนเครื่องมือในการตอบคําถามตาง ๆ ไดเชน ใชตอบคําถาม
วา
- “มีอะไรอยูที่นั่น” (What is at….?)
- “สิ่งนั้นอยูตรงไหนบาง” (Where is it….?)
-“ในชวงเวลาที่ผานมาถึงปจจุบันมีอะไรเปลี่ยนแปลงบาง” (What has changed since …?)
-20-