Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว













































                รูปที่ 1.7  ตัวอยางคําถาม “ถามีการเปลี่ยนแปลงคาปจจัยตามที่กําหนด จะเกิดอะไรขึ้น?”  โดยใช  GIS

                                        ตอบคําถามจากการสรางแบบจําลองเชิงพื้นที่


               1.7 ตัวอยางการประยุกตใชงานระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร



               ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนเครื่องมือทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เปนสหวิทยาการซึ่งไดอาศัย

               ความรูจากสาขาวิชาภูมิศาสตร การทําแผนที่ คณิตศาสตร คอมพิวเตอร สถิติศาสตร วิศวกรรมสํารวจ
               การรับรูระยะไกลจากดาวเทียมและภาพถายทางอากาศ ระบบการบอกพิกัดบนโลก โฟโตแกรมเมตตรี

               การวางผังเมือง วิศวกรรมโยธา และอื่น ๆ ดังนั้นการประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสามารถ

               ประยุกตใชงานไดในหลายสาขาวิชาขึ้นอยูกับสาขาวิชาการที่ประยุกตใชงาน มีผูไดจําแนกขอบขายการ
               ประยุกตใชงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เชน Shunji (1996) ไดจําแนกออกเปน 5 กลุมดังนี้คือ

                              - การจัดการดานสาธารณูปโภค  สวนใหญจะใชแผนที่มาตราสวนขนาดใหญซึ่งมีความ

               ละเอียดสูง เชน การทําแผนที่อัตโนมัติ การจัดการแผนที่ตําแหนงหัวดับเพลิง ตําแหนงหัวจายน้ําประปา
               ตําแหนงทอสงน้ํามัน แนวสายสง ตําแหนงสะพานและอื่น ๆ

                              - การจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สวนใหญจะใชแผนที่มาตราสวน

               ขนาดกลางและเล็ก โดยอาศัยเทคนิคการซอนทับของขอมูลภาพถายทางอากาศหรือภาพถายดาวเทียม
               ซึ่งใชบริหารจัดการทรัพยกรธรรมชาติ เชน การวิเคราะหผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การหาพื้นที่ที่


                                                          -16-
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30