Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                 Theories of Marital and Family Therapy
            2



                     ในช่วงทศวรรษ 1940 สถาบันการให้การปรึกษาคู่สมรสเพิ่มขึ้นเป็น 15 แห่ง
            ทั่วสหรัฐอเมริกา   ปี ค.ศ.1942 เริ่มมีการจัดประชุมพบปะสมาชิกวิชาชีพประจ าปี และต่อมาได้มีการ

            จัดตั้งเป็น American Association of Marriage Counselors หรือ AAMC ในปี ค.ศ. 1945   เพื่อให้
                                ั
            สมาชิกวิชาชีพได้แบ่งปนแนวคิด สร้างมาตรฐานวิชาชีพ และส่งเสริมการวิจัย
                     ค.ศ. 1949   American Association of Marriage Counselors ร่วมกับ National Council
            on Family relations ได้ตีพิมพ์มาตรฐานวิชาชีพการให้การปรึกษาคู่สมรส และระบุว่าการให้การ

            ปรึกษาคู่สมรสเป็นสาขาที่ต้องการความเชี่ยวชาญเฉพาะ

                     ในปีค.ศ. 1970 American Association of Marriage Counselors ได้เปลี่ยนชื่อเป็น
            American Association of Marriage and Family Counselor ซึ่งสะท้อนถึงความนิยมของครอบครัว

            บ าบัดที่เพิ่มมากขึ้น (Broderick & Schrader, 1981 อ้างถึงใน Karen B. Helmeke, et al., 2015)
            ต่อมามีการเปลี่ยนชื่อสมาคมอีกครั้งในปีค.ศ. 1978 เป็น American Association of Marriage and
            Family Therapy (AAMFT)

                     การให้การปรึกษาและบ าบัดคู่สมรส จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของการให้การปรึกษาครอบครัว

            หรือครอบครัวบ าบัด



            ครอบครัวบ าบัด (Family Therapy)

                                                                                       ั
                     แนวคิดจิตวิเคราะห์ของ Sigmund Freud ซึ่งมีอิทธิพลมาก่อนหน้านั้น เชื่อว่า ปญหาทาง
                                                       ่
                        ่
            จิตเวชของผู้ปวยเป็นผลจากความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปวยและพ่อแม่ที่ไม่ดีในวัยเด็ก แนวทางการบ าบัด
                                       ่
            ของ Freud จึงเป็นการบ าบัดผู้ปวยโดยแยกจากครอบครัว การเปิดเผยและแก้ไขความขัดแย้งทาง
                                                                              ่
            จิตใจในอดีตอาศัย “Transference relationship” ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปวยและผู้บ าบัด ที่มา
                                          ่
            เป็นตัวแทนความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปวยและพ่อแม่
                                                                          ่
                     แม้จิตแพทย์บางส่วนจะตระหนักถึงความส าคัญของครอบครัวผู้ปวย แต่ก็มีแนวโน้มจะมอง
                                                     ่
                                                                       ่
            ว่า สภาพแวดล้อมของครอบครัวส่งผลเสียต่อผู้ปวย และมักใช้วิธีน าผู้ปวยออกจากครอบครัวเพื่อให้
               ่
            ผู้ปวยห่างไกลจากสภาพแวดล้อมของครอบครัวและมีอาการดีขึ้น
                                                                             ่
                     ก่อนหน้าที่จะมีการท าครอบครัวบ าบัด ผู้บ าบัดส่วนใหญ่จะบ าบัดผู้ปวยเป็นรายบุคคลเป็น
                                                                          ั
            หลัก  และเมื่อมีการบ าบัดแบบกลุ่ม กระบวนการบ าบัดก็ยังเน้นการแก้ไขปญหาของสมาชิกกลุ่มเป็น
                                                                      ่
            รายบุคคล ซึ่งแม้จะให้ผลดี แต่ก็ยังมีข้อจ ากัดอยู่ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ปวยมีพัฒนาการดีขึ้นเมื่ออยู่ใน
                                              ั
            สถานบ าบัด แต่เมื่อกลับสู่ครอบครัวก็มีปญหาอีก วิธีการดั้งเดิมเหล่านี้ แตกต่างจากครอบครัวบ าบัด
                ั
                                                                                 ั
                                    ั
            ในปจจุบันที่มุ่งเน้นการแก้ปญหาของครอบครัว ในสถานการณ์ที่ก าลังเกิดขึ้นในปจจุบัน (here and
            now) และมองภาพของครอบครัวเป็นองค์รวม
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13