Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                           67



                         2.  ทฤษฎีพฤติกรรมการเรียนรู

                         3.  ทฤษฎีเกี่ยวกับชีวเคมีของสมอง : อาการวิตกกังวลเกิดจากความผิดปกติของชีวเคมีของสมอง
                     ทําใหการตอบสนองตอสิ่งเราของระบบประสาทกลาง และระบบประสาทอัตโนมัติมีมากผิดปกติ

                         4.  ปจจัยทางพันธุกรรม

                         5.  ความสัมพันธระหวางมารดากับบุตร : จากการศึกษารูปแบบของสัมพันธภาพระหวางมารดา

                     กับบุตรกอนวัยเรียน  ซึ่งเปนโรคกังวลพบวาสัมพันธภาพระหวางกันเปนแบบขาดความมั่นคง


                            2. Generalized  Anxiety  Disorder (GAD : โรควิตกกังวล)

                            ลักษณะทางคลินิก
                            เปนโรควิตกกังวล  ซึ่งมีอาการกังวลเกินกวาเหตุในหลายๆ เรื่องพรอมๆกัน (excessive and

                     pervasive) รวมกับอาการทางกายตางๆจนทําใหเกิดปญหากับผูปวยหลายๆดาน



                            การวินิจฉัย
                            1.  มีความวิตกกังวลมากเกินกวาเหตุ (apprehensive  expectation)  ในหลายๆเรื่อง

                            2.  ผูปวยรูสึกวาไมสามารถควบคุมความกังวลนี้ได

                            3.  มีอาการตางๆเหลานี้อยางนอย 3 ขอ (ในเด็กมีอาการอยางนอย 1 ขอ) คือ
                                   -  กระสับกระสาย

                                   -  ออนเพลีย เหนื่อยงาย

                                   -  มีปญหาดานสมาธิ ความจํา

                                   -  หงุดหงิด
                                   -  ปวดเมื่อย  ตึงกลามเนื้อ

                                   -  มีปญหาเกี่ยวกับการนอน

                            4.  อาการกังวลจะไมเปนเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน panic disorder, phobia หรือโรคอื่นๆ

                            5.  อาการเปนเกือบทั้งวัน  ติดตอกันนานมากกวา 6 เดือน


                            สาเหตุ

                            ปจจัยดานจิตใจ : อาการวิตกกังวลเปนจากความขัดแยงในจิตใตสํานึก ซึ่งไมไดถูกแกไขความ
                     ผิดปกติในแงของการรับรูและแปลผลตอเหตุการณตางๆ   ในลักษณะที่มองโลกในแงราย ทําใหเกิด

                     ความรูสึกวาไมสามารถแกไขปญหาตางได

                            ปจจัยดานชีวภาพ  :  ยังไมทราบแนชัดแตเชื่อวาเกี่ยวของกับสารสื่อประสาทหลายตัว เชน

                     GABA, Serotonin และยังไมพบวาเกี่ยวของชัดเจนกับปจจัยทางพันธุกรรม
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75