Page 191 -
P. 191
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ ที่มีความกว้างของฝัก 5.16 และ 5.08 เซนติเมตร ตามลำดับ
(Table 2)
ความยาวฝักข้าวโพดหวาน พบว่ากรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์
(กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ มีความยาวของฝักมากที่สุด 19.79 เซนติเมตร ไม่แตกต่างกันทาง
สถิติกับกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 15-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350
กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 10-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย)
อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ กรรมวิธี่ที่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอน
หม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ และกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 5-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์
(กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ และ มีความยาวของฝัก 19.74 19.70 19.64 19.52 และ19.50
เซนติเมตร ตามลำดับ แต่แตกต่างกันทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 0-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์
(กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ ที่มีความยาวฝัก 18.75 เซนติเมตร (Table 2)
ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ในสารละลาย (Total Soluble Solids, TSS) ของข้าวโพดหวาน พบว่า
กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 0-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) 350 กก.น้ำหนักแห้ง/
ไร่ มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ในสารละลายมากที่สุด 15.93 เปอร์เซ็นต์บริกซ์ ไม่แตกต่างกับกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ย
อินทรีย์(กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ ที่มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ในสารละลาย
15.36 เปอร์เซ็นต์บริกซ์ แต่แตกต่างกันทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตราา 5-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์
(กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 10-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับ
ปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 15-5-5 N-P 2O 5-K 2O
กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-5-5
N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ และกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรอง
อ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ มีปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ในสารละลาย 14.30 14.10 14.10 13.98 และ
13.86 เปอร์เซ็นต์บริกซ์ ตามลำดับ (Table 2)
ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ (Table 3) พบว่ากรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่
ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์มากที่สุด โดยมีค่า VCR (value cost ratio) เท่ากับ 7.3 แสดงว่ากรรมวิธีดังกล่าวมีสัดส่วน
ระหว่างมูลค่าผลผลิตเพิ่มต่อมูลค่าปุ๋ยที่ใช้เพิ่มได้อย่างคุ้มค่ามากที่สุด รองลงมาได้แก่ กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-5-5
N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ และกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมี
อัตรา 15-5-5 N-P 2O 5-K 2O กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (กากตะกอนหม้อกรองอ้อย) อัตรา 350 กก.น้ำหนักแห้ง/ไร่ ที่มีค่า
VCR เท่ากับ 3.6 และ 3.4 ตามลำดับ
183