Page 83 -
P. 83

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-27


                 3.4 ปญหาดินถลม


                        ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งของพื้นที่สูงคือการเกิดปญหาดินถลม
                        การเกิดเหตุการณดินถลมในประเทศไทย แตละครั้งนั้นไดมีผูเสียชีวิตและเกิดความเสียหายแก
                 ทรัพยสินจํานวนมาก ดังรายละเอียดในตารางที่ 3-13

                        กรมพัฒนาที่ดิน (2562: 1-29) ไดรายงานไววามีหมูบานที่เสี่ยงภัยดินถลมอยูจํานวน 5,784 หมูบาน
                 ในทองที่ 54 จังหวัด ดังรายละเอียดในตารางที่ 3-14
                        การเกิดเหตุการณดินถลมที่บานหวยขาบ ตําบลบอเกลือเหนือ อําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน
                 และมีผูเสียชีวิตจํานวน 8 ราย นั้น ปจจุบันประชาชนในหมูบานดังกลาว ไดอพยพไปตั้งถิ่นฐานใหมในบริเวณ

                 ใกลเคียงกับพื้นที่เดิมที่ไมเสี่ยงภัยจากดินถลม
                        จากเหตุการณดินถลมที่สรางความเสียหายแกทรัพยสินและมีผลตอชีวิตนั้น องคการบริหารสวน
                 ตําบลวาวี อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย (2561: 1) ไดมีหนังสือถึงสถานีพัฒนาที่ดินแจงภัยพิบัติเพื่อใหมี
                 การชวยเหลือประชาชนตามบทบัญญัติมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เนื่องจาก

                 พบวาในพื้นที่ดอยชางมีการเคลื่อนตัวของมวลดินที่เสี่ยงตอการเกิดดินถลมของบานเรือน ซึ่งขณะนี้
                 คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อดําเนินการปองกันและบรรเทาผลกระทบจาก ภัยธรรมชาติที่เกิดจากการ

                 ชะลางพังทลายของดินและดินถลม ภายใตคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน

                        ทั้งนี้พื้นที่ที่เกี่ยวของกับดินถลมมี 3 ประเภท ที่มีมาตรการในการบริหารจัดการที่แตกตางกันคือ
                               (1) พื้นที่เสี่ยงที่เสี่ยงตอการเกิดดินถลมแตไมเคยเกิดเหตุ
                               มาตรการที่นําไปใช ไดแก การเฝาระวัง และการสรางความตระหนักรู ซึ่งในดานการเฝา
                 ระวังอุปกรณที่สําคัญในการเฝาระวังคือเครื่องมือวัดน้ําฝนอัตโนมัติ ปญหาคือเครื่องมือยังกระจายไมเพียงพอ
                 ไมไดติดตั้งในพื้นที่เกิดเหตุ เพราะไมสามารถนําไปติดตั้งไดตองไดรับการอนุญาตจากเจาของพื้นที่กอน คือ

                 กรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
                               (2) พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินถลมและมีสัญญาณการเคลื่อนตัว
                               จะตองมีการเฝาระวังหรือติดตาม โดยติดตั้งเครื่องมือวัดการเคลื่อนตัว โดยอาศัย พ.ร.บ.

                 พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 มาตรา 13 และมาตรา 15 เพื่อเขาไปติดตั้งเครื่องมือ
                               (3) พื้นที่ที่มีการเกิดดินถลมและมีสูญเสีย
                               มาตรการที่จะนํามาใชคือ ควรยายออกหรือไมยายออก ถาใหยายออกแลวจะใหไปอยูที่ไหน
                 ซึ่งตามหลักการตองยายออกจากพื้นที่ แตในทางปฏิบัติไมสามารถยายออกไดเนื่องจากเปนพื้นที่ทํากินของ

                 ชาวบานจะตองมีหนวยงานที่เกี่ยวของเขาไปชวยเหลือ เชน กรมที่ดิน สปก. หรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของกับ
                 พื้นที่ทํากินทางการเกษตร เปนตน
                               (คณะกรรมการพัฒนาที่ดิน, 2561: 6-8)
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88