Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       2-5


               ตารางที่ 2-2 พื้นที่ลาดชันเชิงซอนของประเทศ รายจังหวัด (ตอ)

                 ลําดับที่        จังหวัด              เนื้อที่จังหวัด (ไร)    พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC)
                                                                             เนื้อที่ (ไร)     รอยละ*
                   45    จ. ราชบุรี                             3,247,789         1,031,990           31.78
                   46    จ. ลพบุรี                              3,874,846           405,188           10.46
                   47    จ. ลําปาง                              7,833,726         4,528,700           57.81
                   48    จ. ลําพูน                              2,816,176         1,216,615           43.20
                   49    จ. เลย                                 7,140,383         3,898,767           54.60
                   50    จ. ศรีสะเกษ                            5,524,985           128,205            2.32
                   51    จ. สกลนคร                              6,003,603          5576,409            9.60
                   52    จ. สงขลา                               4,621,181         1,087,633           23.54
                   53    จ. สตูล                                1,549,361           486,953           31.43
                   54    จ. สระแกว                             4,497,148           520,771           11.58
                   55    จ. สระบุรี                             2,235,304           553,022           24.74
                   56    จ. สุโขทัย                             4,122,558         1,228,593           29.80
                   57    จ. สุพรรณบุรี                          3,348,755           406,851           12.15
                   58    จ. สุราษฎรธานี                        8,057,168         2,825,380           35.07
                   59    จ. สุรินทร                            5,077,535            5,456             0.11
                   60    จ. หนองคาย                             1,892,050           118,816            6.28
                   61    จ. หนองบัวลําภู                        2,411,929           280,328           11.62
                   62    จ. อํานาจเจริญ                         1,975,780           43,166             2.18
                   63    จ. อุดรธานี                            7,331,439           696,588            9.50
                   64    จ. อุตรดิตถ                           4,899,120         2,705,964           55.23
                   65    จ. อุทัยธานี                           4,206,404         1,978,425           47.03
                   66    จ. อุบลราชธานี                         9,858,750           103,299            1.05
                             รวมทั้งหมด                       309,582,677       101,863,442

               ที่มา :    1. เนื้อที่ไดจากการคํานวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS)  และทําการถวงน้ําหนักกับเนื้อที่จากกรมการปกครอง 513,149.83  ตาราง
                      กิโลเมตร หรือ 320.718 ลานไร
                          2.รอยละของเนื้อที่จังหวัด
               ที่มา :  กองสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2561: 1-2)

               2.2 ภูเขาในประเทศไทย

                       ราชบัณฑิตยสถาน (2525: 21-60) ไดจําแนกทิวเขาสําคัญในประเทศไทยไววามี 15 ทิวเขา คือ
               1.จันทบุรี 2. ดงพญาเย็น 3. แดนลาว 4. ตะนาวศรี 5. ถนนธงชัย 6. นครศรีธรรมราช 7.บรรทัด 8. ผีปนน้ํา
               9. พนมดงรัก 10. เพชรบูรณ (เพชรบูรณ 1 และเพชรบูรณ 2) 11. ภูเก็ต 12. ภูพาน 13. สันกาลาคีรี
               14. สันกําแพง 15. หลวงพระบาง โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              1. จันทบุรี ทิวเขาเริ่มจากเชิง เขาตะแบงใหญ ในทิวเขาบรรทัด ไปทางตะวันตก รวมยาว
               281 กม. ดานทิศเหนือของทิวเขา น้ําไหลลงแมน้ําปราจีนบุรี แมน้ําบางปะกง และทะเลสาบในประเทศกัมพูชา
               ประชาธิปไตย ดานทิศใตของทิวเขาน้ําไหลลงทะเลในอาวไทย

                              2. ดงพญาเย็น ทิวเขาเริ่มจาก อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี หางจากถนนสุรนารายณมาทางทิศใต
               ประมาณ 3 กม. เปนทิวยาวลงทางทิศใต ผานทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือระหวางสถานีปางอโศกกับ
               สถานีบันไดมา และผานถนนมิตรภาพ เมื่อถึง เขาฟาผา ทิวเขามีแนวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต จนถึงเขาเขียว
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44