Page 61 -
P. 61
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
27
ตารางที่ 2.6 เปรียบเทียบลักษณะของแบบจ ำลองเชิงเส้นตรง แบบจ ำลองที่ไม่เป็นเส้นตรง และแบบจ ำลอง
คณิตศำสตร์ที่เป็นจริง
LP ที่มีข้อจ ำกัด Traditional NLP PMP
ปรับค่ำ
คุณสมบัติของแบบจ าลอง
ค ำนึงถึงกิจกรรมที่ได้จำกกำรส ำรวจ
ค ำนึงถึงกำรลดลงของรำยได้ส่วนเพิ่ม
ลักษณะของแบบจ าลองที่ต้องการ
ขจัดข้อผิดพลำดของกำรเลือกเฉพำะสิ่ง
ที่ดีที่สุดมำกเกินไป
(Avoid overspecialization)
แบบจ ำลองมีควำมยืดหยุ่น
(Model flexibility)
กำรปรับค่ำตรงตำมควำมเป็นจริง
(Exact calibration)
ที่มำ : Umstatter (1999: 15)
กำรสร้ำงแบบจ ำลอง PMP มี 3 ขั้นตอนหลักคือ
1. ก ำหนดแบบจ ำลอง LP ของพื้นที่กำรศึกษำแบบที่มีข้อจ ำกัดปรับค่ำ (Calibration constraint) เพื่อหำ
ค่ำ Dual value
2. น ำค่ำ และ มำค ำนวณเพื่อหำค่ำสัมประสิทธิ์ α และ γ
j j
3. น ำค่ำα และ γ ไปใช้ในสมกำรวัตถุประสงค์ PMP
j j
โดยที่กำรค ำนวณค่ำสัมประสิทธิ์ α และ γ นั้นจะแตกต่ำงกันไปในแต่ละเวอร์ชั่นของแบบจ ำลอง PMP
j j
ในแบบจ ำลองนี้ได้เลือกใช้เวอร์ชั่นของ Howitt (1995) ที่ค ำนวณค่ำสัมประสิทธิ์โดยวิเครำะห์ต้นทุนที่มอง
ไม่เห็นจำกแนวคิดกำรเพิ่มขึ้นของต้นทุนที่เกิดจำกกำรเพิ่มขึ้นในเลือกกิจกรรม (increasing marginal cost) มำ
ปรับค่ำ มีกำรค ำนวณค่ำสัมประสิทธ์ ดังตำรำงที่ 2.7