Page 59 -
P. 59
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
25
ส่งผลกระทบในเชิงลบต่อรำยได้สุทธิจำกภำคเกษตร เนื่องจำกกำรขำดแคลนแรงงำนในภำคเกษตร
รำยละเอียดดังตำรำงที่ 2.5 และกำรตรวจเอกสำรสมมุติฐำนดังภำคผนวก ข2
ตารางที่ 2.5 ตัวแปรต้นและสมมุติฐำนของแบบจ ำลองผลกระทบของกำรย้ำยถิ่นต่อรำยได้ของครัวเรือน
หมู่บ้ำนซับเจริญ จังหวัดเพชรบูรณ์
สมมุติฐานต่อ
สมมุติฐานต่อ รายได้สุทธิภาค
ตัวแปรต้น หน่วย รายได้สุทธิ เกษตร
ทรัพยากรมนุษย์
กำรย้ำยถิ่นของครัวเรือน มีสมำชิกย้ำยถิ่น=1 + -
เพศของหัวหน้ำครัวเรือน เพศหญิง=1 - -
อำยุเฉลี่ยของสมำชิกในครัวเรือน ป ี + +
2
อำยุเฉลี่ยของสมำชิกในครัวเรือนก ำลังสอง ป ี - -
A
จ ำนวนปีที่ได้รับกำรศึกษำเฉลี่ยของสมำชิกครัวเรือน ป ี + +
จ ำนวนสมำชิกครัวเรือน จ ำนวนสมำชิก + +
อัตรำกำรพึ่งพิง - -
ทรัพยากรที่ดิน
จ ำนวนถือครองที่ดินต่อหัว ไร่/จ ำนวนสมำชิก + +
พื้นที่ปลูกพืชไร่ ไร่ + +
พื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น ไร่ + +
ป ี ปี 2561 = 1 + +
A
หมำยเหตุ: ค ำนวณค่ำเฉลี่ยเฉพำะสมำชิกครัวเรือนที่มีอำยุ 14 ปีขึ้นไป
2.7 แนวคิดแบบจ าลองเชิงคณิตศาสตร์ตามความเป็นจริง
แบบจ ำลองคณิตศำสตร์ตำมควำมเป็นจริง (Positive Mathematical Programming: PMP) เป็น
แบบจ ำลองที่ถูกพัฒนำขึ้นโดย Howitt (1995) มีแนวคิดในกำรพัฒนำต่อยอดจำกแบบจ ำลองเชิงเส้นตรง
(Linear Programming: LP) ซึ่งแบบจ ำลองเชิงเส้นตรงเป็นแบบจ ำลองเชิงคณิตศำสตร์ที่นิยมใช้ในกำรวิจัย
ด้ำนเศรษฐศำสตร์กำรเกษตร เพรำะแบบจ ำลองนี้สำมำรถวิเครำะห์กำรตัดสินใจเลือกกิจกรรมต่ำงๆ ภำยใต้
ข้อจ ำกัด เพื่อให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ของกำรตัดสินใจได้ แบบจ ำลองเชิงเส้นตรงมีองค์ประกอบ 3
องค์ประกอบหลัก ดังนี้ (บรรลุ พุฒิกร และคณะ, 2549)