Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                               วันพัฒนาและปลูกต้นไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ าปี 2559
                               วันพัฒนาและปลูกต้นไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ าปี 2559
                               วันพัฒนาและปลูกต้นไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ าปี 2559


                                                                            ต้นยางนา

                                                 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don

                                                 ชื่อวงศ์  : Dipterocarpaceae

                                                 ชื่อสามัญ : Yang

                                                 ชื่ออื่นๆ : ยางกุง (เลย), ยางควาย (หนองคาย), ชันนา ยางตัง (ชุมพร), ยาง
                                                 ขาว ยางแม่น้ า ยางหยวก (ภาคเหนือ), ยางใต้ ยางเนิน (ภาคตะวันออก), ยาง
                                                 (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
                                                 ลักษณะทั่วไป : ไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบหรือผลัดใบระยะสั้นขนาดใหญ่ มีความสูง

                                                 ของต้นได้ถึง 50 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ โคนต้นมักเป็นพูพอน ล าต้น
                                                 มีลักษณะเปลาตรง เปลือกต้นเกลี้ยงสีออกเทาอ่อน เนื้อไม้เป็นสีน้ าตาลแดง
                                                 เสี้ยนตรง เนื้อหยาบ

                                                 ใบ : ใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับ  ใบเป็นรูปไข่แกมรูปขอบขนานปลายใบ
                                                 สอบทู่ โคนใบกว้าง ส่วนขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อยกว้างประมาณ 6-14
                                                 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12.5-25 เซนติเมตร เนื้อใบหนาและเหนียว ย่น
                                                 เป็นลอน ใบอ่อนมีขนสีเทา ส่วนใบแก่เกลี้ยงหรือเกือบ

                                                 ดอก : ออกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง ดอกมีขนาด
                                                 ประมาณ 4 เซนติเมตร เป็นสีชมพูอ่อน มีช่อละ 4-5 ดอก ดอกขนาดใหญ่
                                                  เรียงตัวหลวม ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ เป็นรูปขอบขนาน ปลายกลีบมนและบิด

                                                 เวียน โคนกลีบดอกชิดกัน

                                                 ผล : เป็นแผลแห้ง ลักษณะของผลเป็นรูปกระสวย มีหลอดกลีบเลี้ยงหุ้มขน
                                                 มิด ยาวประมาณ 2-2.5 เซนติเมตร มีปีกขนาดใหญ่ที่พัฒนามาจากกลีบเลี้ยง
                                                 2 อัน มีสีแดงอมชมพู ขนาดกว้างประมาณ 2-2.5 เซนติเมตร และยาว
                                                 ประมาณ 11-15 เซนติเมตร ผลเมื่อสุกจะเป็นสีน้ าตาล เส้นปีกตามยาวมี 3

                                                  เส้น ปักสั้น 3 ปีก ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ส่วนกลางผลมีครีบตามยาว 5
                                                 ครีบ ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดมีขนสั้นนุ่ม ที่ปลายมีติ่งแหลม
                                                 ประโยชน์  : ทางด้านนิเวศ ให้ร่มเงา ก าบังลม ป้องกันการพังทลายของหน้า

                                                 ดิน เนื้อไม้ยางนาสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน
                                                 ท าเครื่องเรือน น้ ามันยางจากต้นสามารถน ามาใช้โดยตรงเพื่อใช้ผสมชันไม้อื่น
                                                 ๆ ใช้ยาเครื่องจักสานกันน้ ารั่ว ยาแนวเรือเพื่ออุดรอยรั่ว ทาไม้ ใช้ผสมขี้เลื่อย
                                                 จุดไฟ หรือใช้ท าไต้จุดไฟส่องสว่าง น้ ามันยางเป็นอีกหนึ่งสินค้าส่งออกที่
                                                 ส าคัญของประเทศไทย




              - ข้อมูลและรูปภาพจากเว็บไซต์ Medthai https://medthai.com/ยางนา/










                                                                                                           69 69 69
                 กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ส านักงานอธิการบดี
                 กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ส านักงานอธิการบดี
                  กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ส านักงานอธิการบดี
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83