Page 4 -
P. 4
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 ก่อนการเป็นศาสตร์จิตวิทยา 1
1.1 แนวความคิดทางจิตวิทยาในยุคกรีก 1
1.2 แนวความคิดทางจิตวิทยาหลังยุคอริสโตเติลจนถึงศตวรรษที่ 16 9
1.3 ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 16
ซึ่งเป็นฐานสู่การเป็นศาสตร์จิตวิทยา
บทที่ 2 จิตวิทยายุคเริ่มต้น 27
2.1 วิลเฮล์ม วุนดท์กับการเป็น “ศาสตร์” ของจิตวิทยาในศตวรรษที่ 19 27
2.2 วิลเลียม เจมส์ และบทบาทของจิตวิทยาหน้าที่ (Functional Psychology) 32
2.3 จิตวิทยาเกสตอลต์ (Gestalt Psychology) 33
2.4 ซิกมันด์ ฟรอยด์ และทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) 37
2.5 พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) 39
2.6 คาร์ล โรเจอร์และแนวคิดจิตวิทยามนุษยนิยม (Humanistic Psychology) 43
บทที่ 3 จิตวิทยาในปัจจุบัน 45
3.1 แนวคิดชีวะ - จิตวิทยา (Biopsychology) 45
และประสาทจิตวิทยา (Neuropsychology)
3.2 แนวคิดจิตพลวัต (Psychodynamic perspective) 47
3.3 แนวคิดการรู้คิด (Cognitive perspective) 48
3.4 แนวคิดพฤติกรรมนิยม (Behavioral perspective) 51
3.5 แนวคิดประสบการณ์นิยม (Phenomenological perspective) 52
3.6 แนวคิดจิตวิทยาทางบวก (Positive psychology perspective) 54
3.7 แนวคิดจิตวิทยาตะวันออก (Eastern psychology) 55
3.8 แนวคิดด้านสังคมวัฒนธรรม (Socio-Cultural perspective) 57
บทที่ 4 ความก้าวหน้าของวิชาชีพจิตวิทยา 59
4.1 แนวโน้มความต้องการนักจิตวิทยาในสถานการณ์ของโลก 59
และสภาพสังคมในปัจจุบัน
4.2 สาขาของวิชาจิตวิทยา 62
4.3 การจัดตั้งองค์กรด้านจิตวิทยา 67