Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี





 ชีวิตในมหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยในชีวิต                                                                            นิ้วกลม



                เมื่อได้อ่าน ‘KU: KREATIVE UNIVERSITY’ ผมจึงรู้สึกดีใจ ความคิดของนิสิต ใจกว้าง และกล้าหาญเพียงพอที่จะเปิดพื้นที่
            แทนนิสิตในรั้วมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขณะเดียวกันก็ดีใจ ซึ่งคุณค่าเช่นนี้จะก่อร่างเป็นวัฒนธรรมในมหาวิทยาลัยและ
            แทนสังคมไทยที่มีมหาวิทยาลัยที่ปรับตัวอย่างสร้างสรรค์เพื่อ ติดตัวนิสิตออกไปหลังเรียนจบอีกด้วย
            ตอบโจทย์ในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว          ความสุขในชีวิตย่อมเกิดจากการได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
                ค�าตอบที่ดีเกิดจากการตั้งค�าถามได้ถูกต้อง  ใกล้ชิดธรรมชาติ มีพื้นที่ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
                การเปลี่ยนแปลงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ฉายภาพ ของชุมชน และได้รับความเคารพในความคิดเห็นของตนเอง
            ให้เห็นว่า นี่ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ไม่ได้เกิดขึ้นเองมั่ว ๆ ไม่มีฟลุก หาก เช่นนี้แล้ว เกษตรศาสตร์ย่อมเป็น ‘HAPPINESS UNIVERSITY’
            เกิดจากการก�าหนดโจทย์ที่ตอบ ‘ค�าถามที่ถูก’ ในโลกสมัยใหม่  ได้แน่
            นั่นคือการขับเน้นในเรื่องที่โลกก�าลังเรียกร้องต้องการ นั่นคือ   การเปลี่ยนแปลงในโลกใบเล็กที่เรียกว่า ‘มหาวิทยาลัย’
            ปัญหาสิ่งแวดล้อมและความสุขในชีวิต            แท้จริงแล้วคือการเปลี่ยนแปลงโลกใบใหญ่ไปพร้อมกัน เพราะ
                โครงการต่าง ๆ ที่สร้างและปรับปรุงใหม่ล้วนแสดงให้เห็น เมื่อมหาวิทยาลัยสร้างคุณค่าบางอย่างขึ้นมาให้เห็นผ่านโครงการ
            อย่างชัดเจนถึงหัวใจที่ ‘คิดถึงโลก’ เช่น การก�าหนดให้ร้านค้าใน ที่เป็นรูปธรรม ย่อมสร้างคุณค่านั้นขึ้นมาในใจของผู้ที่ใช้ชีวิตอยู่
            เกษตรแฟร์ลดการใช้ SINGLE USE PLASTIC ส่งเสริมการแยก ในโลกใบนั้นด้วย และหนุ่มสาวเหล่านี้เองที่จะเป็นคนน�าคุณค่า
            ขยะในโรงอาหาร พยายามเก็บรักษาต้นไม้ใหญ่และตัดแต่งอย่าง อันดีงามเหล่านี้ไปสร้างโลกใบใหญ่ข้างนอกรั้วมหาวิทยาลัยต่อไป
            ถูกวิธี และอื่น ๆ อีกมากมายที่สะท้อนถึงความเป็น ‘GREEN  ในภายภาคหน้า
            UNIVERSITY’ ที่ไม่ได้มีสีเขียวแค่ในโลโก้มหาวิทยาลัยเท่านั้น  หนุ่มสาวที่ได้เข้ามาใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                นอกจากนั้น ยังมีความคิดในการสร้าง ‘พื้นที่สังสรรค์ทาง ยุคปัจจุบันย่อมเป็นคนที่เห็นค่าความส�าคัญของสิ่งแวดล้อม รัก
            ความคิด’ ให้เกิดขึ้นในรั้วมหาวิทยาลัย เอื้อให้เกิดจากปะพบ และหวงแหนต้นไม้และธรรมชาติ เชื่อในพื้นที่ของการแลกเปลี่ยน
            สังสรรค์ระหว่างนิสิตด้วยกัน รวมถึงบุคลากรในมหาวิทยาลัยเพื่อ ความคิดเห็น ให้เกียรติความคิดของผู้อื่น ไม่ว่าโตกว่าหรือเด็ก
            แตกยอดความคิดใหม่ ๆ ในพื้นที่เหล่านั้น       กว่า นอกจากนั้นยังเชื่อมโยงตัวเองเข้าเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน
                สิ่งที่น่ารักที่สุดคือ เกษตรศาสตร์ไม่แยกตัวเองออกจาก ของสังคม ของประเทศ และของโลก
            ชุมชน แต่กลับเปิดกว้างให้ผู้คนโดยรอบเข้ามาใช้สอยพื้นที่ใน  สิ่งเหล่านี้มิได้เกิดจากการที่ครูอาจารย์เปิดคัมภีร์ความดี
            มหาวิทยาลัยเพื่อท�ากิจกรรมต่าง ๆ อย่างรื่นรมย์ ท�าให้ แล้วสอนให้ท่องจ�า หากทว่า-มันงอกงามขึ้นในใจผ่านการซึมซับ
            มหาวิทยาลัยเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน และประชาชนเองก็รู้สึก จากสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยคุณค่าดังเช่นที่ว่ามา
            เชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย ยิ่งถ้าสามารถเป็นแปลงเพาะปลูกแห่ง  โลกเล็ก ๆ ใบนั้นค่อย ๆ เปลี่ยนพวกเขา แล้วพวกเขาจะ
            ปัญญา ด้วยการจัดกิจกรรมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันบ่อย ๆ ใน ค่อย ๆ ไปเปลี่ยนโลกใบใหญ่ข้างนอก ซึ่งถึงที่สุดแล้วก็คือโลกใบ
            อนาคต ยิ่งสนุกขึ้นไปอีก มหาวิทยาลัยที่เปิดประตูต้อนรับ เดียวกัน
            ประชาชน ย่อมเป็นสถานศึกษาที่ประชาชนรัก           ขอบคุณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่สร้างโลกซึ่งเต็มไป
                สิ่งที่ผมคิดว่าทันสมัยและสร้างสรรค์ที่สุด ยิ่งกว่าเทคโนโลยี ด้วยคุณค่าอันดีงาม สร้างแปลงเพาะเมล็ดพันธุ์ที่จะงอกงามเป็น
            ล�้ายุคที่น�ามาใช้ในจุดต่าง ๆ ก็คือ ความคิดของผู้บริหารที่  ดอกไม้สวยและส่งกลิ่นหอม หรือเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงา
            เปิดกว้างเพื่อรับฟังความคิดเห็นของนิสิตให้มีส่วนร่วมในการ แก่สังคมไทยและสังคมโลกในอนาคต
            เสนอแนะ วิจารณ์เพื่อปรับปรุงแก้ไข รวมถึงการระดมสมองเพื่อ  นี่คือตัวอย่างที่น่าชื่นชม
            น�ามาสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ในโครงการเหล่านี้ การเปิดพื้นที่ให้  นี่คือมหาวิทยาลัยที่คู่ควรต่อการเข้าไปใช้ชีวิต ในช่วงวัยที่
            นิสิตมีส่วนร่วมย่อมเป็นรากฐานของวัฒนธรรมประชาธิปไตย ซึ่ง ส�าคัญที่สุด
            ต่างจากการใช้ความคิดจาก ‘ผู้ใหญ่’ แบบ TOP-DOWN อยู่ฝ่าย
            เดียว สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นได้เพราะผู้บริหารเคารพและให้เกียรติใน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10