Page 8 -
P. 8
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครื องเอก I
บทนํา
เพลงไทย
ความหมายของเพลงไทย
เพลงไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมหนึ งของชนชาติไทย ซึ งมีมาตั"งแต่สมัยโบราณ เพลงไทยมีทํานอง
เป็นเอกลักษณ์แบบไทย ประพันธ์ขึ"นตามหลักทางดนตรีไทย มีลีลาการบรรเลง การขับร้องแบบไทย
นอกจากเพลงไทยจะถือว่าเป็นเพลงที มีเอกลักษณ์เฉพาะประจําประเทศไทยแล้ว เพลงไทยยังได้รับ
อิทธิพลจากต่างชาติมาตั"งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ทําให้เพลงปรากฏสําเนียงภาษาของชาติอื นๆอีกมากมาย เมื อ
เพลงสําเนียงภาษาต่างๆมีมากขึ"น ได้แก่ ภาษาลาว ภาษาเขมร ภาษาแขก ภาษามอญ ภาษาจีน เป็นต้น เพลงที
ประพัธ์ขึ"นมาโดยเลียนสําเนียงอื นมักมีชื อนําหน้าเพลงตามสําเนียงภาษาที เลียนมา เช่นเพลงจีนขิมเล็ก เพลง
เขมรไทรโยค เพลงมอญท่าอิฐ และ เพลงลาวดวงเดือน
ประเภทของเพลงไทย
เพลงไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เพลงบรรเลง และเพลงขับร้อง
1. เพลงบรรเลง
เพลงบรรเลง หมายถึง เพลงที มีดนตรีบรรเลงล้วนๆ ไม่ปรากฏเนื"อร้อง ตัวอย่างเพลง
บรรเลงได้แก่ เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื อง เพลงหางเครื อง เพลงสําเนียงภาษา และเพลงเดี ยว
ดังนี"
1.1 เพลงโหมโรง
เพลงโหมโรง คือ เพลงที ใช้บรรเลงเริ มต้นของการบรรเลง มีความหมายเพื อ
ประกาศหรือแจ้งให้ทราบว่าพิธีการของงานจะเริ มต้นขึ"น หรือเพื ออัญเชิญสิ งศักดิ<สิทธิ<ทั"งปวงให้มาร่วม
ชุมนุมในพิธี เพื อความเป็นสิริมงคล
1.2 เพลงหน้าพาทย์
เพลงหน้าพาทย์ คือ เพลงที ใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรมต่างๆและใช้ประกอบตัว
แสดงโขนและตัวละคร หรือใช้สําหรับอัญเชิญสิ งศักดิ<สิทธิ< และครูอาจารย์ทั"งหลายให้มาร่วมในพิธีไหว้ครู
พิธีมงคลต่างๆ
1.3 เพลงเรื อง
เพลงเรื อง คือ เพลงที บรรเลงเป็นเรื องราวเดียวกัน ชุดเดียวกัน โดยการนําเพลง
ใกล้เคียงกันมาเพื อบรรเลงต่างกันเป็นชุดต่างๆ ตัวอย่างเพลงเรื อง ได้แก่
1