Page 4 -
P. 4
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
คํานํา
การเรียนการสอน เครื องดนตรีเอก ของสาขาวิชาดนตรีไทย ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นระนาดเอก ฆ้องวงเล็ก ระนาดทุ้ม ปี ซอด้วง ซออู้ ซอสามสาย จะเข้
และขลุ่ยนั:น ผู้ที เลือกเรียนเครื องดนตรีเหล่านี:เป็นเครื องมือเอก ปกติในการบรรเลงดนตรีไทยจะยืด “ทาง
ฆ้อง” เป็นทางหลักในการแปรทํานองของเครื องดนตรีต่างๆ นอกจากนี:ผู้เรียนจะต้องทางเป็นเฉพาะของ
เครื องมือต่างๆได้อีกด้วย
ในการจัดทําตํารา เครื องเอก I เล่มนี: ผู้รวบรวมพยายามรวบรวมเนื:อหาที เกี ยวกับ “เพลง” ใน
ประเด็นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความหมาย ประเภท ประวัติ ความสําคัญ เนื:อร้อง และโน้ตเพลงทางกลาง (ทาง
ฆ้อง) เพื อให้เป็นตําราที มีเนื:อหาเบื:องต้นในการเรียนการสอนดนตรีไทย และที สําคัญ การแปรทํานองในแต่
ละเครื องมือจะได้แปรทํานองไปในทิศทางเดียวกัน เนื องจากผู้เรียนดนตรีต้องนํามาบรรเลงประสมวง โดย
จะเป็นเพลงโหมโรงเย็นสําหรับวงปี พาทย์ และเพลงตับ เพลงเถา สําหรับวงเครื องสาย
กล่าวได้ว่าเนื:อหาในตํารา เครื องเอก I นี: เหมาะสําหรับบุคคลทั วไปที สนใจในการบรรเลงดนตรี
ไทย ผู้ที สนใจฝึกซ้อมดนตรีไทย สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการฝึกซ้อม ไม่ว่าจะเป็นการฝึกปฏิบัติฆ้อง
ใหญ่ หรือนําไปเป็นทางกลาง (ทางฆ้อง) ในการแปรทํานองของเครื องมือต่างๆ ได้อีกด้วย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาคม บํารุงสุข
บรรณาธิการ
สาขาวิชาดนตรีไทย ภาควิชาดนตรี
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1 สิงหาคม 2558