Page 36 -
P. 36
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
à¡ÉµÃ â¿¡ÑÊ
โดย: สุชาติ สงวนพันธุ์
นักวิชาการเกษตร เชี่ยวชาญ
ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
suchart1957@yahoo.com
ä¡‹ÅÙ¡¼ÊÁµÐàÀҷͧ
เกษตรศาสตร์
มุ่งมั่นพัฒนาสู่เป้าหมายคือการผลิตไก่อินทรีย์
ไก่ตะเภาทองเกษตรศาสตร์เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างไก่พื้นเมืองของไทยที่เกือบจะสูญพันธุ์ไปแล้วชื่อว่า ไก่พันธุ์ตะเภาทอง กับ
ไก่พื้นเมืองของจีนชื่อว่า ไก่สามเหลือง ซึ่งไก่สองพันธุ์มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน กล่าวคือ ไก่พันธุ์ตะเภาทองมีขนาดใหญ่ ลักษณะหงอน
หินเหมือนไก่พื้นเมือง ผิวหนัง สีแข้ง สีขน และจะงอยปากเหลืองอ่อน เจริญเติบโตค่อนข้างช้า ใช้เวลาเลี้ยงเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6-7
เดือน น้ำหนักตัวเพศผู้ 3.3-3.8 กิโลกรัม เพศเมีย 2.8-3.2 กิโลกรัม ส่วนไก่พันธุ์สามเหลืองมีขนาดตัวเล็ก ลักษณะหงอนจักร ขนาดค่อนข้าง
ใหญ่ (ตลาดไม่ต้องการ) ผิวหนัง สีแข้ง สีขน และจะงอยปากสีเหลือง เจริญเติบโตเร็ว ใช้เวลาเลี้ยงเมื่อโตเต็มที่ 4–5 เดือน น้ำหนักตัวเพศผู้ 2.5-
2.8 กิโลกรัม เพศเมีย 1.3-1.6 กิโลกรัม ทนต่อสภาวะอากาศที่แปรปรวนได้ดีเยี่ยมทั้งสองพันธุ์ เนื้อนุ่ม หอม กรอบอร่อยเหมือนกัน หลัง
จาก ผู้เขียนได้ดำเนินการศึกษาเรียนรู้ไก่ทั้งสองพันธุ์เป็นเวลามากกว่า 5 ปี เมื่อทราบข้อดี ข้อเสีย และทิศทางความต้องการของตลาด
แล้ว จึงได้ทำการผสมข้ามพันธุ์เพื่อให้ได้ไก่ที่มีคุณภาพเนื้อดีที่สุดและเลี้ยงง่าย สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดีทุกๆ
พื้นที่ โดยใช้ชื่อว่า ไก่ลูกผสมพันธุ์ตะเภาทองเกษตรศาสตรร์
กษณะทั่วไปของไก่ตะเภาทองเกษตรศาสตร์ คือ เลี้ยงง่าย เป็นเอกลักษณ์ประจำพันธุ์ การเลี้ยงสามารถใช้พืชผลทางการเกษตรเป็น
แข็งแรง ทนโรค รูปร่างสมส่วนประมาณร้อยละ 85 มีลักษณะหงอนหิน แหล่งอาหารเพื่อการเจริญเติบโตได้อย่างดี จากคุณสมบัติของไก่ตะเภาทอง
และร้อยละ 15 มีลักษณะหงอนจักร ขนสีเหลืองทอง แข้ง เกษตรศาสตร์ที่มีลักษณะเลี้ยงง่าย ไม่เลือกอาหารที่กิน และทนทานต่อโรค
สีเหลือง จะงอยปากเหลือง หนังเหลืองเรียบเนียน เนื้อนุ่มหวานอร่อย จึงเป็นข้อได้เปรียบของไก่ตะเภาทองเกษตรศาสตร์ที่จะนำมาเลี้ยงในระบบ
พ่อพันธุ์ตะเภาทอง แม่พันธุ์สามเหลือง
ไก่ลูกผสมตะเภาทองเกษตรศาสตร์
36 : พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
36-37_ _ 4.indd 36 5/22/15 6:04:20 PM