Page 30 -
P. 30
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดยอาศัยหลักเกณฑ์ขององค์การโรคระบาดสัตว์ และกรมปศุสัตว์มีความเข้มงวดในการติดตามและประเมินสถานการณ์อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้เกิด
ระหว่างประเทศ (Office International des ความมั่นใจต่อผู้บริโภคและประเทศผู้นำเข้าถึงความปลอดภัยของไก่ไทย แต่ต้นทุนในการผลิต
Epizooties; OIE) และโครงการมาตรฐานอาหาร เนื้อไก่ของไทยค่อนข้างสูง เพราะต้องนำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทโปรตีน ในขณะที่เรามี
ระหว่างประเทศ (CODEX) โดยสำนักงานมาตรฐาน ข้อได้เปรียบในเรื่องการผลิตอาหารปรุงสุก ดังนั้น ตลาดไก่ปรุงสุกของไทยจึงยังมีศักยภาพใน
สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ หรือ มกอช. การขยายต่อไปได้
ได้ออกมาตรฐานต่างๆ มามากพอสมควร ซึ่ง
ส่วนใหญ่ยังเป็นมาตรฐานตามความสมัครใจของ การปรับตัวของ ซีพีเอฟ เพื่อให้แข่งขันในตลาดอาหารปรุงสุกได้
ผู้ผลิต แต่ต่อไปอาจเปลี่ยนเป็นมาตรการบังคับ 1. มีการศึกษาความต้องการของตลาดอยู่เสมอ ทำให้สามารถผลิตสินค้าได้ตรงตามความ
มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ในการเพิ่มคุณภาพ ต้องการของตลาดได้
อาหารเพื่อการบริโภคและการส่งออก 2. มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและรวดเร็ว ทำให้พร้อมที่จะก้าวต่อไป ลูกค้าต่างประเทศที่เข้ามา
- ได้มีการแก้ไขกฎระเบียบและกฎหมายต่างๆ ดูกระบวนการผลิตมีความมั่นใจในการผลิตของบริษัท
ให้ทันสมัย เช่น พรบ. ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์
พ.ศ. 2558 ได้ให้รวมน้ำเป็นอาหารสัตว์ด้วย เพื่อให้มี ข้อเสนอแนะจากประสบการณ์เพื่อการพัฒนาการเป็นครัวของโลกด้านปศุสัตว์
การควบคุมในเรื่องคุณภาพน้ำและห้ามการเติมสาร 1. เกษตรกรต้องมีความรู้ความเข้าใจที่ดีและถูกต้องต่อการพัฒนาการผลิต การจัดการฟาร์ม
ที่อาจเป็นอันตรายต่อสัตว์หรือผู้บริโภคให้แก่สัตว์ ให้เป็นมาตรฐานซึ่งจำเป็นต้องมีการลงทุนเพิ่ม แต่ผลของการจัดการดูแลที่ดีทำให้สัตว์เจริญ
- มีการศึกษาวิจัยในเรื่องการสะสมของแร่ธาตุ เติบโตดี ไม่ป่วยไม่ต้องใช้ยา ต้นทุนจะลดลงไปเอง การผลิตพันธุ์สัตว์ต้องได้มาตรฐานอย่าง
และโลหะหนักจากวัตถุดิบอาหารสัตว์สู่เนื้อสัตว์ จริงจัง สัตว์ที่เข้าฟาร์มต้องตรวจสอบให้ดีว่ามาจากแหล่งที่ดีเชื่อถือได้เลี้ยงสัตว์ให้อยู่สุขสบาย
และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เพื่อเป็นข้อมูลในการตั้ง ฟาร์มมีระบบการจัดการที่ดีตามมาตรฐานฟาร์มของกรมปศุสัตว์ได้รับการรับรองมาตรฐานฟาร์ม
มาตรฐานของ มกอช. ต่อไป เป็นที่ยอมรับของตลาดในด้านคุณภาพและความปลอดภัย
- มีคณะกรรมการกำกับดูแลและติดตามการใช้ 2. เกษตรกรผู้ผลิตควรมีการรวมกลุ่ม โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยเพื่อรวมพลัง สร้าง
ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล ซึ่งเป็นปัญหาเร่งด่วน ความเข้มแข็ง สามารถผลักดันการดำเนินการต่างๆ ให้สัมฤทธิ์ผลได้ตามที่ต้องการ
ที่ต้องแก้ไขของประเทศ 3. คุณภาพของบุคลากรรุ่นใหม่ที่จะเข้ามาดำเนินงานฟาร์ม หรือในระบบธุรกิจต้องมีความรู้
- ด้านความปลอดภัยของการผลิตสุกร กรม ความเข้าใจตลอดทั้งห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำคือผู้บริโภค ซึ่งต้องเป็นหน้าที่
ปศุสัตว์ได้ทำการเก็บข้อมูลจากฟาร์มสุกรขนาดเล็ก ของหน่วยงานการศึกษาที่อาจจะต้องมีการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์
กลาง ใหญ่ จากทุกภูมิภาค เพื่อติดตามในเรื่อง ปรับรูปแบบระบบการเรียนการสอนที่สร้างให้เด็กเข้าใจและเรียนรู้ถึงองค์ความรู้และนวัตกรรม
ปัญหาการปนเปื้อนของเชื้อโรคและได้ข้อมูล ที่เป็นปัจจุบัน
ค่อนข้างที่จะไปในทิศทางเดียวกันในกลุ่มฟาร์มที่มี
การใช้ยาอย่างเหมาะสม คือ พบปัญหาเชื้อดื้อยา
จากฟาร์มน้อยมาก แต่จะพบการปนเปื้อนของเชื้อ
ระหว่างการขนส่งจากโรงฆ่าไปยังเขียงหรือที่ตลาด
ซึ่งคงต้องมาให้ความสำคัญในเรื่องการขนส่งมากขึ้น
สพ.ญ. บุญญิตา รุจทิฆัมพร ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า
สพ.ญ. บุญญิตา รุจทิฆัมพร ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า
- ด้านการผลิตไก่เนื้อของประเทศไทยนั้นเป็นที่ “
ประเทศไทยยังมีศักยภาพและโอกาส
ยอมรับในตลาดโลก ทั้งทางด้านศักยภาพ คุณภาพ
และความปลอดภัย ปัจจุบันประเทศไทยสามารถส่ง อีกมากที่จะก้าวไปเป็นครัวของโลก
ออกไก่สดได้ เพราะไม่มีปัญหาเรื่องไข้หวัดนกแล้ว เพียงแต่ผู้เกี่ยวข้องต้องเข้าใจในทิศทาง
และมีเป้าหมายร่วมกัน”
30 30 30 : พฤษภาคม-มิถุนายน 2558 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
: :
28-30_ _CP.indd 30 5/22/15 6:19:18 PM