Page 23 -
P. 23

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 33 (1) : 18-27 (2557)                     21
                                                         ์



                 สูตรค�านวณ (จงรัก, 2546)  จากนั้นน�าข้อมูลที่ได้มาสร้าง  อัตราดอกเบี้ยอัตราใดอัตราหนึ่งเป็นตัวหักลด เกณฑ์
                 ดัชนีถิ่นที่ขึ้น (site index)  ซึ่งแสดงข้อมูลความสูงของ  ใช้ในการตัดสินใจในการลงทุน คือ NPV > 0 หรือ มี
                 ไม้ชั้นเรือนยอดเด่นกับอายุไม้  ด้วยวิธี Anamorphosis   ค่าเป็นบวก ใช้สูตรค�านวณดังนี้
                 (ปัสสี, 2534) ได้จ�าแนกเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ได้แก่      NPV  =   n  (B-C)/(1+i)   t
                 1) เหมาะสมน้อย  2) เหมาะสม  3) เหมาะสมมาก  เพื่อ        t=1  t t
                 ประเมินคุณภาพถิ่นที่ขึ้นของไม้ยูคาลิปตัส    เมื่อ  B   =  ผลได้ในปีที่  t
                                                                    t
                        น�าข้อมูลมาประกอบกับข้อมูลชุดดินซึ่งแต่ละ     C  t    =  ต้นทุนในปีที่ t
                 ชุดดินมีการกระจายอยู่หลายชั้นดัชนีถิ่นที่ขึ้น  ด้วยวิธี     i  =  อัตราดอกเบี้ย
                 การถ่วงน�้าหนัก (weight score) โดยใช้สูตร          t  =  ปีที่ 1, 2, .... n  โดย  n  คือ  ระยะเวลา

                        SI  =   (W × n)                                  สิ้นสุดโครงการ
                                 N
                 เมื่อ   SI  คือ ดัชนีถิ่นที่ขึ้นของชุดดิน           3) อัตราผลตอบแทนภายใน หรือ Internal
                        W   คือ  ค่าน�้าหนักในแต่ละชั้นดัชนีถิ่นที่ขึ้น  Rate of Return (IRR)   เพื่อหาผลตอบแทนซึ่งอยู่ในรูป
                        n   คือ  จ�านวนแปลงตัวอย่างแต่ละชุดดิน  ของร้อยละที่เกิดจากการลงทุนในโครงการ เกณฑ์ที่ใช้
                            และดัชนีถิ่นที่ขึ้น              พิจารณาในการยอมรับโครงการ คือ เมื่อ IRR > อัตรา

                        N  คือ จ�านวนแปลงตัวอย่างทั้งหมด     ดอกเบี้ยเงินกู้   ใช้สูตรค�านวณดังนี้
                                                                                             NPV at LI
                                                               IRR = LI + (HI - LI) ×  ( NPV at LI - NPV at HI)
                 การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางด้านการเงิน
                        โดยน�าหลักเศรษฐศาสตร์มาพิจารณาคัดเลือก  เมื่อ  B = ผลได้ในปีที่  t
                                                                   t
                 โครงการที่เป็นไปได้และเหมาะสม ด้วยตัวชี้วัด  3  วิธี      C  t  = ต้นทุนในปีที่ t
                 (วุฒิพล, 2553) ดังนี้                         IRR = อัตราผลตอบแทนของโครงการ (%)
                                                                   t = ปีที่ 1, 2, 3, 4, 5
                        1) อัตราส่วนของผลได้ต่อต้นทุน หรือ Benefit
                 – Cost ratio (B/C ratio) เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง     ในการศึกษาก�าหนดอัตราดอกเบี้ย 3 ระดับ
                 มูลค่าปัจจุบันของผลได้และต้นทุนที่เกิดขึ้น เกณฑ์ที่  คือ 8,  12 และ 15 เปอร์เซ็นต์ ตามล�าดับ เพื่อแสดงถึง
                 ใช้ในการตัดสินใจในการลงทุน คือ  B/C >  1  ใช้สูตร  ค่าเสียโอกาสของทุนในระดับต่างกัน

                 ค�านวณดังนี้
                             n        n                                  ผลและวิจารณ์
                                    t
                     B/C  =    B/(1+i)/ C/(1+i) t
                            t=1  t    t=1  t                 ผลผลิตและดัชนีถิ่นที่ขึ้น
                 เมื่อ  B  =  ผลได้ในปีที่  t                        จากข้อมูลความสูงของไม้ชั้นเรือนยอดเด่น
                       t
                      C  t     =  ต้นทุนในปีที่ t            และอายุไม้ ได้ด�าเนินการจัดท�าดัชนีถิ่นที่ขึ้น ด้วยวิธี
                       i   =  อัตราดอกเบี้ย                  Anamorphosis (ปัสสี, 2534) สามารถจ�าแนกคุณภาพ
                       t  =  ปีที่ 1, 2, .... n  โดย n คือ  ระยะเวลา  ถิ่นที่ขึ้น  3  ชั้น ได้แก่ เหมาะสมมาก (SI 13)  รองลงมา คือ
                            สิ้นสุดโครงการ
                                                             เหมาะสม (SI 12) และ เหมาะสมน้อย (SI 11)  (Figure 1)
                        2) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ หรือ Net Present Value   โดยใช้อายุฐาน 5 ปี  ปรากฏว่า ผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่
                 (NPV) เป็นการหามูลค่าปัจจุบันของโครงการว่า  คือ คุณภาพถิ่นที่ขึ้นเหมาะสมมาก  (SI 13)  มีผลผลิต
                 ผลก�าไรจากการลงทุนมีมูลค่าในปัจจุบันเป็นเท่าใด โดยใช้  ในรูปน�้าหนักสดเฉลี่ย  12.17 ตันต่อไร่  รองลงมา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28