Page 16 -
P. 16

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 14                        Thai J. For. 33 (1) : 11-17 (2014)




                 ท�าให้สารละลายในระบบปลูกมีความเข้มข้น 8 dS/m ซึ่ง       ผลและวิจารณ์
                 จัดเป็นความเค็มระดับปานกลางและทุกสิ่งทดลองมีชุด
                 ควบคุม (control) ที่ใช้สารละลายธาตุอาหารปกติแต่ไม่     จากการศึกษาการเจริญเติบโตของไม้โตเร็วที่
                 ได้เติมโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)ในระบบปลูก  บันทึก  ปลูกในสารละลายอาหารที่ความเค็มในระดับปานกลาง
                 ข้อมูลสภาพแวดล้อม ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นของ  เมื่อเก็บข้อมูลจนครบ 12 สัปดาห์ น�ามาเปรียบเทียบความ
                 อากาศในโรงเรือน ความเข้มแสง โรคและแมลงตลอด  แตกต่างระหว่างสิ่งทดลองที่ทดสอบความเค็มในระดับ
                 การทดลอง บันทึกข้อมูลการเจริญเติบโต โดยวัดความสูง  ปานกลางกับสิ่งควบคุม (control) โดยใช้การวิเคราะห์
                 และเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก เดือนละ 1 ครั้ง รักษา  T-test พบว่า มีการเติบโตไม่แตกต่างกัน แต่มีความแตก
                 ระดับของค่า EC ที่ 8 dS/m  โดยการเติมสารละลาย
                 ธาตุอาหารและเปลี่ยนทุกๆ 14 วัน เก็บข้อมูลเป็นเวลา   ต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p≤0.05) ซึ่งถือว่าแม้ใน
                 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลมวลชีวภาพและน�าข้อมูลที่ได้ไป  ความเค็มระดับปานกลางพืชก็ยังสามารถเติบโตได้ปกติ
                 วิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) และ  แต่ในส่วนของจ�านวนใบของ A. leptocarpa (19006)
                 เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธี DMRT   และ A. colei (19958) ที่ความเค็มของสารละลายมีผล
                 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95              ท�าให้จ�านวนใบน้อยกว่าสิ่งควบคุม (Table 2)


                 Table 2  The  T-test between treatments and control group

                                                             Diameter    Height     Number of leaves
                  Treatment              Species
                                                               (cm)       (cm)           (N )
                                                                                           L
                      T1      Acacia  ampliceps  15762          ns         ns             ns
                      T2      Acacia  ampliceps  18425          ns         ns             ns
                      T3      Acacia  plectocarpa  19983        ns         ns             ns
                      T4      Acacia  plectocarpa  19931        ns         ns             ns
                      T5      Acacia  colei   19984             ns         ns             ns
                      T6      Acacia  leptocarpa  19006         ns         ns         * (46.6,78.4)
                      T7      Acacia  leptocarpa  16176         ns         ns             ns
                      T8      Acacia  colei  19958              ns         ns         *(27.6,36.2)
                      T9      Eucalyptus  camaldulensis         ns         ns             ns


                        จากการเก็บข้อมูลและน�ามาเปรียบเทียบการ  ทนเค็ม กับสิ่งควบคุม (control) เนื่องจากไม้โตเร็วที่น�ามา
                 เจริญเติบโตพบว่า Eucalyptus camaldulensis มีการเจริญ  ทดสอบมีลักษณะใบและจ�านวนใบที่เป็นลักษณะประจ�า
                 เติบโตสูงที่สุด โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางโคนต้น ความ  พันธุ์ที่แตกต่างกันมาก พื้นที่ใบก็แตกต่างกัน บางชนิด
                 สูง และจ�านวนใบมากที่สุด รองลงมาได้แก่ Acacia   มีใบขนาดใหญ่ มีจ�านวนใบน้อยแต่เติบโตได้ดี เช่น A.
                 ampliceps  (18425) และ A. colei (19984) ส่วนต้นกล้า  colei (19958) มีจ�านวนใบเพียง 26 ใบ ในทางตรงกันข้าม
                 ไม้โตเร็วที่มีการเจริญเติบโตต�่า ได้แก่ A. plectocarpa   บางชนิดที่มีใบขนาดเล็ก จ�านวนใบมาก แต่การเติบโต
                 (19983) และ A. plectocarpa (19931) ส�าหรับการใช้  ทางเนื้อไม้น้อย เช่น A. plectocarpa (19983) มีจ�านวน
                 จ�านวนใบเป็นดัชนีชี้วัดความแตกต่างระหว่างชนิดไม้โต  ใบ 103 ใบและ A. plectocarpa (19931) มีจ�านวนใบ 84
                 เร็วอาจไม่เหมาะสม แต่สามารถใช้เปรียบเทียบความ  ใบ แต่มีการเติบโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางโคนต้นและ
                 แตกต่างระหว่างสิ่งทดลองชนิดเดียวกันที่ทดสอบความ  ความสูงต�่าที่สุด (Table 3)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21