Page 14 -
P. 14

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 12                        Thai J. For. 33 (1) : 11-17 (2014)



                                                      บทคัดย่อ


                        การศึกษานี้เป็นการคัดเลือกไม้โตเร็วที่สามารถทนเค็มได้จากการปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์ แบบ Deep water
                 culture (DWC) ที่ปรับระดับความเค็มให้มีค่าอยู่ในระดับความเค็มปานกลาง (Electrical conductivity, EC = 8 ds/m)

                 โดยการเติม NaCl จ�านวน 3.5 กรัมต่อสารละลายอาหารจ�านวน 1 ลิตร การศึกษาได้วางแผนการทดลองแบบ Randomized
                 complete block design (RCBD) ศึกษาไม้โตเร็ว 5 ชนิด จาก 9 แหล่งเมล็ด ได้แก่ Acacia  ampliceps (15762), Acacia
                 ampliceps (18425), Acacia  plectocarpa (19983), Acacia  plectocarpa (19931), Acacia  leptocarpa (16176), Acacia
                 leptocarpa (19006), Acacia  colei (19984), Acacia  colei (19958) และ Eucalyptus  camaldulensis เก็บข้อมูลการเติบโต
                 ทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก ความสูง และนับจ�านวนใบทุกๆ 2 สัปดาห์หลังจากเติม NaCl เป็นเวลา 12 สัปดาห์

                 และหามวลชีวภาพของไม้แต่ละชนิดเมื่อสิ้นสุดการทดลอง
                        จากการศึกษาพบว่า Eucalyptus  camaldulensis เติบโตได้ดีที่สุด ทั้งขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอราก และ
                 ความสูง เท่ากับ 1.05 และ 178.60 เซนติเมตร ตามล�าดับ รองลงมาได้แก่ Acacia  ampliceps (18425) และ Acacia  colei

                 (19984) ตามล�าดับ เมื่อเปรียบเทียบการเติบโตและจ�านวนใบของกล้าไม้ที่ปลูกในสารละลายที่มีความเค็มปานกลางกับ
                 ตัวควบคุมพบว่า การเติบโตของกล้าไม้ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p > 0.05) อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้ว่าความเค็ม
                 ในระดับปานกลางไม่มีผลต่อการเติบโตของไม้ที่ศึกษา ยกเว้นจ�านวนใบของ Acacia leptocarpa (19006) และ Acacia
                 colei (19958) ที่ความเค็มของสารละลายมีผลท�าให้จ�านวนใบน้อยกว่าสิ่งควบคุม Eucalyptus camaldulensis มีมวล
                 ชีวภาพเหนือดินสูงสุด 57.57 กรัม/ต้น และ Acacia  plectocarpa  (19983) มีมวลชีวภาพเหนือดินต�่าที่สุดเท่ากับ 9.47

                 กรัม/ต้น ขณะที่ Acacia colei (19984) มีมวลชีวภาพใต้ดินสูงที่สุดเท่ากับ 11.68 กรัมต่อต้น

                 ค�าส�าคัญ: ทนเค็ม สารละลายธาตุอาหาร ไม้โตเร็ว



                                 ค�าน�า                              การน�าไม้โตเร็วมาปลูกในพื้นที่ดินเค็ม เป็นวิธี

                                                             การจัดการพื้นที่ดินเค็มโดยวิธีชีววิทยาที่มีประสิทธิภาพ
                        พื้นที่ดินเค็มเป็นพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์  และมีความยั่งยืนที่สุด โดยการเลือกชนิดไม้ให้เหมาะสม
                 ได้อย่างจ�ากัด พื้นที่ดินเค็มจึงมักจะถูกทิ้งร้างไม่ได้ใช้  กับสภาพและสมบัติของดิน ซึ่งลักษณะส�าคัญก็คือ
                 ประโยชน์ ทั่วโลกพบว่ามีพื้นที่ที่มีปัญหาดินเค็มประมาณ  ทนเค็มหรือสามารถเติบโตในพื้นที่ดินเค็มได้ และมี
                 ร้อยละ 7 ของพื้นที่ทั้งหมด (Marcar, 1995) ขณะที่ใน  ระบบรากลึกที่ช่วยป้องกันการแพร่กระจายของดินเค็ม

                 ประเทศไทยนั้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่ที่มี  จากการศึกษาของกองส�ารวจและจ�าแนกดิน (2543)
                 ปัญหาดินเค็มมากที่สุด ปัญหาดินเค็มที่เกิดขึ้นมีสาเหตุ  พบว่า การแก้ไขลดระดับความเค็มของดินบริเวณพื้นที่
                 มาจากธรรมชาติและเกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดินใน  ดินเค็มจัดซึ่งเป็นพื้นที่รับน�้า สามารถท�าได้โดยการปลูก
                 การท�ากิจกรรมต่างๆ ในทางกายภาพแล้ว พื้นที่ดินเค็ม  พืชทนเค็มหรือพืชชอบเกลือและระบบรากลึกร่วมกับ
                 จะมีความอุดมสมบูรณ์ต�่าและมีการสูญเสียอินทรีย์วัตถุ  พืชเกษตร ซึ่งจะช่วยลดการสูญเสียรายได้ของเกษตรกร

                 สูง กอปรกับสภาพโดยทั่วไปเป็นพื้นที่แห้งแล้ง ส่งผล  โดยช่วยตรึงระดับน�้าเค็มให้อยู่ใต้ดินลึกลงไป ไม่ระเหย
                 ให้ที่ดินซึ่งเป็นปัจจัยในการผลิตทางการเกษตรอยู่ใน  ขึ้นมาท�าความเสียหายให้กับพืชเกษตร และยังเป็นแนว
                 สภาพที่ไม่เอื้ออ�านวยให้ใช้ประโยชน์ (มาลัยพร, 2548)  กันลม ให้ร่ม ไม่ให้ดินชั้นบนสูญเสียความชื้นอย่าง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19