Page 108 -
P. 108
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เนื้อหา ประกอบดวยหัวขอหลัก ดังนี้
1. บทคัดยอ สรุปสาระสําคัญของผลงานไวโดยครบถวน และมีความยาวไมเกิน 300 คํา เรื่องที่เขียนเปน
ภาษาไทย ตองมีบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษ (ABSTRACT) ดวย (ภาษาอังกฤษกอนและตามดวยภาษาไทย)
ใหระบุ Keywords จํานวนไมเกิน 5 คําไวในตอนทายบทคัดยอภาษาอังกฤษดวย
2. คํานํา (INTRODUCTION) อธิบายความสําคัญของปญหา การตรวจเอกสาร (literature review) เฉพาะ
สวนที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเทานั้น และวัตถุประสงคของงานวิจัยในกรณีงานวิจัยทางสังคมศาสตรอาจเพิ่ม
เติมขอบเขตการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย และสมมติฐานการวิจัย (ถามี)
3. อุปกรณและวิธีการ (MATERIALS AND METHODS) เขียนใหรัดกุม ไมพรรณนาวิธีการวิเคราะห ใช
วิธีการอางอิงชื่อหรือองคกร เชน ใชตามวิธีของ AOAC (1990)
4. ผลและวิจารณ (RESULTS AND DISCUSSION) ผลการทดลองและวิจารณผลเขียนรวมกัน
5. สรุป (CONCLUSION) ใหยกใจความสําคัญที่ไดจากการวิจัยรวมถึงการวิจารณผลที่ไดจากการวิจัย
6. คํานิยม (ACKNOWLEDGEMENTS) (ถามี) ไมควรเกิน 50 คํา
7. เอกสารและสิ่งอางอิง (REFERENCES) หลักเกณฑและรูปแบบการเขียนเอกสารและสิ่งอางอิงใหยืด
ตามคูมือวิทยานิพนธ สายวิทยาศาสตร ปลาสุดของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สามารถ
ดาวนโหลดไดที่www.grad.ku.ac.th/thesis/template_ss.php กอนสงตนฉบับควรตรวจทานการอางอิงใน
เนื้อหาและในทายบทตรงกัน และถูกตองตามหลักเกณฑที่ระบุไวในคูมือดังกลาว
7.1 การอางอิง (citation) ในเนื้อหาใชระบบ name-and-year system
7.2 การเรียงลําดับเอกสารเรียงอางอิงตามลําดับตัวอักษรชื่อผูเขียน เอกสารภาษาไทยและตามดวยเอกสาร
ภาษาอังกฤษ เอกสารทั้งหมดที่ถูกอางอิงในเนื้อหาตองปรากฏในรายการเอกสารและสิ่งอางอิง
7.3 การเขียนเอกสารและสิ่งอางอิงภาษาไทย ชื่อผูเขียนใชชื่อและนามสกุลเต็ม
7.4 การเขียนเอกสารและสิ่งอางอิงที่เปนภาษาตางประเทศ ชื่อผูเขียนใหเขียนนามสกุลกอนและตาม
ดวยชื่ออื่นๆ ซึ่งยอเฉพาะอักษรตัวแรก
7.5 ตัวอยางการเขียนเอกสารและสิ่งอางอิง
หนังสือ และตํารา
นิวัติ เรืองพานิช. 2535. วิทยาศาสตรทุงหญา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
Kramer, P. J. and T. T. Kozlowski. 1979. Physiology of Woody Plants. Academic Press, Inc., New York.
วารสาร
สุภาณี ชนะวีรวรรณ และสายัณห สดุดี. 2545. การใชเครื่องมือ SPAD-502 เพื่อประเมินปริมาณคลอโรฟลลรวมและ
ไนโตรเจนในใบของลองกองและเงาะ. ว. สงขลานครินทร วทท. 24(1): 9-14.
Kongsom, C. and I. A. Munn. 2003. Optimum rotation of Eucalyptus camaldulensis plantations in Thailand based
on financial return and risk. Thai J. For. 22 (1): 29-35.
รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ
พูนพิภพ เกษมทรัพย, รวี เสรฐภักดี, เพ็น สายขุนทด, เจษฎา ภัทรเลอพงษ และพัชรียา บุญกอแกว. 2537. การประเมิน
ปริมาณคลอโรฟลลจากความเขียวของใบพืชบางชนิดในประเทศไทย, น. 114-129. ใน รายงานการประชุมทาง
วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 32 (สาขาพืช). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.