Page 104 -
P. 104

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              102                       Thai J. For. 31 (1) : 87-104 (2012)



              หลายของชนิดพันธุไม พบวา มีจํานวนพันธุไมที่นําไป  เหนือธรรมชาติมีจํานวนชนิดที่นอยที่สุดนั้น มีความ
              ใชประโยชนในดานความสัมพันธกับสภาพแวดลอม  คลายคลึงกับการใชประโยชนเพื่อตนเอง กลาวคือ ตอง
              มากที่สุด ซึ่งมีจํานวนชนิดพันธุที่เปนไมพุม ไมลมลุก   อาศัยระยะเวลาในการปรับตัวใหเขากัน สวนที่แตก
              และไมตน ในขณะที่การใชประโยชนจากความหลาก  ตางกันคือตองอาศัยความเชื่อเพื่อเชื่อมโยงคนเขาดวย

              หลายของพันธุไมในชีวิตประจําวันของแตละคน  พบ  กัน โดยเลือกเอาพันธุไมที่เหมาะสมมาเปนสัญลักษณ
              วา มีจํานวนชนิดของไมตนมากที่สุด แสดงใหเห็นวาใน  จํานวนชนิดพันธุที่ใชจึงมีไมมากนัก แตก็มีสวนสําคัญ
              ปจจุบันชุมชนมีการใหความสําคัญกับสภาพแวดลอม  ในการชวยยึดเหนี่ยวผูคนเขาไวดวยกันในสภาพแวดลอม
              ความเปนอยู ซึ่งอาจสะทอนใหเห็นถึงการใหความ  หนึ่งๆ

              สําคัญกับถิ่นที่อยูอาศัยและการอยูรวมกันของคนใน     เมื่อพิจารณาเฉพาะในสวนของวิสัยพันธุไม
              ชุมชน โดยใชประโยชนจากความหลากหลายทาง       แลว พบวาไมตนและไมตนขนาดเล็กอยูในสถานภาพที่
              ชีวภาพมาชวยปรับปรุงสภาพแวดลอมใหนาอยูอาศัย   นาเปนกังวลมากที่สุด เนื่องจากวาชุมชนมอญมักอาศัย
              ทั้งนี้สวนหนึ่งเปนพันธุไมตามสมัยนิยมที่สามารถรับ  อยูเกาะกลุมรวมกันจึงทําใหมีขนาดพื้นที่คอนขางจํากัด
              เขามาปลูกไดในพื้นที่ดวย สวนการใชประโยชนจาก  และไมสามารถเคลื่อนยายขยายพื้นที่ดังเชนในอดีตได
              ความหลากหลายของพันธุไมเพื่อตนเองนั้น มีจํานวน  อีกทั้งบริเวณที่ตั้งถิ่นฐานมักประสบปญหาสภาวะนํ้า

              ชนิดที่นอยกวาการใชเพื่อสภาพแวดลอมประมาณ  ทวมในฤดูฝน การปลูกตนไมสวนใหญจึงนิยมปลูก
              เทาตัว ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสาเหตุสําคัญสองประการ  ตนไมลงในกระถางเพื่อสะดวกตอการเคลื่อนยาย และ
              กลาวคือ การใชประโยชนจากพันธุพืชเพื่อตนเองนั้น  ยังสัมพันธกับความชํานาญในการทําเครื่องปนดินเผา
              มีการเปลี่ยนแปลงนอยหรือเปนไปอยางชาๆ อาศัย  ของชาวมอญอีกดวย รวมทั้งการเจริญเติบโตของไม
              ประสบการณการเรียนรู ซึ่งตองมีกระบวนการที่ทําซํ้าๆ   ตนตองใชระยะเวลา ซึ่งหากตนเกาลดจํานวนลงไป

              กัน และตองมีความสอดคลองกับสภาพของระบบนิเวศ  เรื่อยๆ โดยไมมีการปลูกตนไมใหมเพิ่มขึ้นทดแทน ไม
              ไดเปนอยางดี จนเกิดเปนภูมิปญญาหรือวัฒนธรรมใน  ตนอาจตองกลายเปนของหายากไป โดยเฉพาะในสวน
              การดํารงชีวิต ทั้งในดานอาหาร อาชีพ และการรักษา  ที่สัมพันธกับอํานาจเหนือธรรมชาติซึ่งถาหากลดนอยลง
              โรค ดังนั้นความมากนอยของจํานวนชนิดพันธุจึงไม  ไป ยอมกระทบไปถึงความสัมพันธที่เคยมีอยูของผูคน
              สามารถบอกไดวาปริมาณเทาไหนถึงจะดีกวากัน ซึ่งนา  ที่อาศัยอยูในพื้นที่
              จะขึ้นอยูกับความสัมพันธของชนิดพันธุ สภาพแวดลอม

              และคนมากกวา                                                  สรุป
                     ประการถัดมา  คือหากใหความสําคัญ
              กับความมากนอยของจํานวนชนิดพันธุไม การใช         อารยธรรมมอญเกิดขึ้นจากการปรับตัวใหเขา
              ประโยชนเพื่อตนเองมีนอยนั้น อาจเปนไปไดวามี  กับสภาพแวดลอมของพื้นที่ชุมนํ้าในลุมนํ้าอิระวดี ลุมนํ้า
              ภาวะการพึ่งที่ลดนอยลง เปนผลเนื่องจากการพึ่งพิง  เจาพระยา ลุมนํ้าแมกลอง และลุมนํ้าปง  มีลักษณะเปน

              ประโยชนจากภายนอกที่เพิ่มขึ้น ทั้งในดานอาหาร   พื้นที่ราบลุม นํ้าทวมถึงในฤดูนํ้าหลาก รวมทั้งบริเวณ
              อาชีพ และการรักษาโรค สวนการปรับปรุงสภาพ     ปากแมนํ้าที่มีระบบนิเวศแบบนํ้ากรอย มีพัฒนาการ
              แวดลอมนั้นบางสวนก็เปนการนําเขาพันธุไมจาก  มานานนับพันปและอาจถือไดวากลุมชาติพันธุมอญ
              ภายนอกเขามา                                 ที่อาศัยอยูในระบบนิเวศวิทยาแบบพื้นที่ชุมนํ้านั้นได
                     สําหรับความสัมพันธของพันธุไมกับสิ่งที่  รับเอาอารยธรรมอินเดียและพุทธศาสนานํามาปรับใช
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109