Page 210 -
P. 210
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 199
Each figure of speech appears to suit a certain theme of fantasy better than
another. This depends on the natural characteristics of each device.
Nevertheless, a certain figure of speech may create several fantastic senses.
In conclusion, like other genres of literary works, to convey meaning in a
fantasy story, figurative language firstly helps create vivid perception in the
audience, and this can finally lead to the achievement in their cognition
(understanding) of the messages.
Keywords: Figurative language; Fantasy; Films
บทคัดย่อ
จุดประสงค์หลักของการศึกษานี้คือ 1) ระบุประเภทของภาษาภาพพจน์ที่
มักจะสื่อความหมายเชิงจินตนิมิตในภาพยนตร์แฟนตาซี (จินตนิมิต) 2) วิเคราะห์
ว่าภาษาภาพพจน์ประเภทต่างๆ ที่พบนั้นสื่อความหมายเชิงจินตนิมิตอย่างไร
ภายใต้กรอบทฤษฎีหลักของ Pickering and Hoper (1994) และ Todorov (1970,
cited in Scholes 1975) ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) (Berg,
2004; Coffey and Atkinson, 1996; Corbin and Strauss, 1998) ภาพยนตร์แฟนตาซี
ที่น ามาศึกษาในงานวิจัยนี้คือ Clash of the Titans และ Prince of Persia ผลการศึกษา
พบว่า ภาษาภาพพจน์ที่พบว่าใช้สื่อความหมายเชิงจินตนิมิตมากมี 5 ประเภท
ตามล าดับได้แก่ อุปมา อติพจน์ บุคลาธิษฐาน ค าแฝงนัย และการกล่าวซ ้า และ
ภาษาภาพพจน์ทั้ง 5 ประเภทนี้สามารถสื่อความหมายเชิงจินตนิมิต 5 ประเภทหลักๆ
ที่พบได้บ่อยคือ superpower, supernatural theme, universal value, imagination
and romance (by hero) ดังนั้น จึงนับว่าเป็นเครื่องมือส าคัญในการสื่อความหมาย
เชิงจินตนิมิต โดยการเน้นภาพต่างๆ ที่สื่ออารมณ์และความรู้สึกได้อย่างเด่นชัด
ซึ่งจะน าไปสู่ความเข้าใจในการสื่อความหมายที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยแต่ละประเภทมีความเหมาะสมต่อการสื่อความหมายเชิงจินตนิมิตที่แตกต่าง
กันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะของภาษาภาพพจน์ประเภทนั้นๆ อย่างไรก็ตาม