Page 13 -
P. 13
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2 วารสารมนุษยศาสตร
สุคนธา เจริญวิทย, กมล จรัลนามศิริ และธนิตย เชียรจรัสวงศ, 2550; ธนากร เมธาธรรม
และชวลิต รัตนธรรมกุล, 2550; ศิริพร ศิริกาญจนโกวิท และถนอมวงศ กฤษณเพ็ชร,
2551) ผลการวิเคราะหพบตัวบงชี้ 3 ประเภทใหญๆ ที่แสดงการเวนระยะหางจาก
ผูฟงหรือผูอาน ไดแก 1) คําสรรพนาม 2) นามวลีแปลง และ 3) ประโยคกรรมวาจก
การใชคําสรรพนามเปนการแสดงความความสนิมสนมกับผูฟงหรือผูอาน ในขณะที่
การใชนามวลีแปลงและประโยคกรรมวาจกมาก แสดงการเวนระยะหางจากผูฟงหรือ
ผูอาน ผลการวิเคราะหพบวา มีเพียงภาษาการเมืองและภาษาสื่อเทานั้นที่ใชคําสรรพนาม
เพื่อแสดงความสนิทสนมกับผูฟงหรือผูอาน สวนนามวลีแปลงและประโยคกรรมวาจก
ปรากฏในทุกทําเนียบภาษา โดยพบวาภาษาวิชาการใชนามวลีแปลงมากที่สุด และ
ภาษากฎหมายใชประโยคกรรมวาจกมากที่สุด ผลการวิเคราะหความถี่ในการปรากฏ
ของนามวลีแปลงรวมกับประโยคกรรมวาจกแสดงใหเห็นวาทําเนียบภาษาวิชาการมี
ลักษณะเวนระยะหางจากผูอานมากที่สุด ในขณะที่ภาษาสื่อมีลักษณะเวนระยะหาง
จากผูอานนอยที่สุด
คําสําคัญ: การเวนระยะหางจากผูฟง; ทําเนียบภาษา; ภาษาศาสตรประยุกต
Abstract
This article aims to analyze linguistic features that signify
interpersonal distance in four types of texts, namely, legal texts, political
texts, media texts and academic texts. The data were taken from The
Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (Office of the Council of
State of Thailand, 2555), the prime ministers’ and the political parties’ official
statements during B.E. 2549-2555 (New Politics Party, 2554; New Aspiration
Party, 2554; Democrat Party, 2554ก, 2554ข, 2554ค, 2554ง; Pheu Thai Party,
2554; The Royal Thai Government, 2555), the newspaper advertisements
and the magazine advertisements published during November to December
B.E. 2554 (Gourmet and Cuisine, 2554; Daily News, 2554; Thairath, 2554;