Page 18 -
P. 18

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                                            7

               ตารางที่ 2  (ต่อ)

                                                                                  Habitats

                     Scientific name        Common name           Natural       Agricultural    Residental
                                                                    area            area           area

                 Family Viperidae
                 Calloselasma rhodostoma  งูกะปะ                      X              -               -
                 Trimersurus albolabris    งูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง   X              X               X
                 Family Xenopeltidae
                 Xenopeltis unicolor       งูแสงอาทิตย์               -              X               -

                     ส้าหรับ Bronchocela ที่พบจากการศึกษาครั้งนี้มีลักษณะที่แตกต่างจากกิ้งก่าเขียวหูด้า (Bronchocela
               cristatella) ซึ่งสามารถพบได้ทางตะวันตกของประเทศไทย (Chan-ard et al., 2015) คือ แผ่นเยื่อแก้วหูของกิ้งก่า
               เขียวในสกุล Bronchocela sp. ที่พบในการศึกษาครั้งนี้มีสีเขียวอ่อน แต่สีของแผ่นเยื่อแก้วหูของ กิ้งก่าเขียวหูด้าเป็นสี
               ด้า (Cox et al., 1998) และเมื่อเปรียบเทียบลักษณะของกิ้งก่าเขียวในสกุล Bronchocela sp. ที่พบกับชนิดที่มีแผ่น
               เยื่อแก้วหูไม่เป็นสีด้าและมีรายงานการแพร่กระจายอยู่ในประเทศไทยและประเทศพม่า ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับ

               ประเทศไทย คือ กิ้งก่าเขียวพม่า (Bronchocela burmana) กิ้งก่าเขียวจันทบูร (Bronchocela smaragdina) และ
               กิ้งก่าเขียวรายา (Bronchocela rayaensis) แต่กิ้งก่าเขียวจันทบูรนั้นมีรายงานการพบเฉพาะภาคตะวันออกเท่านั้น
               (Sukprakarn, 2 0 0 3 ; Chuaynkern & Chuaynkern, 2012b) ขณะที่กิ้งก่าเขียวรายา ในปัจจุบันมีรายงาน
               แพร่กระจายอยู่ที่จังหวัดพังงาและภูเก็ตเท่านั้น (Grismer et al., 2016)









































               ภาพที่ 2  สภาพนิเวศพื้นที่ธรรมชาติ (A=ป่าดิบแล้งที่อยู่ติดกับพื้นที่ชุมชน, B=ถ้้าเขาหินปูนที่ถูกใช้ประโยชน์เป็นศาสน
               สถาน, C=ล้าห้วยขนาดเล็กในป่าดิบชื้น, D=แหล่งน้้านิ่งถาวรที่มนุษย์สร้างขึ้นในป่าดิบแล้ง)



               วารสารสัตว์ป่าเมืองไทย ปีที่ 25 พ.ศ. 2561                  Journal of Wildlife in Thailand Vol. 25, 2018
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23