Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                8.6 วิสาหกิจชุมชนกลุมผลิตเกษตรอินทรียปลอดภัยบานดอนอุโลก

               ตั้งอยูที่หมู 12 บานดอนอุโลก ตําบลเดนใหญ อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท เปนกลุมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนศูนย
               การเรียนรูและสนับสนุนการทําเกษตรอินทรียและลดตนทุนการผลิต โดยรวมกลุมเกษตรกรจากพื้นที่ตางๆ

               ทั้งในและนอกตําบลเดนใหญ กอตั้งโดยนายอุดม ดอกแดง และนางสาววัลยนภัส เอี่ยมชื่น เมื่อ พ.ศ.2559

               ดวยการปรับเปลี่ยนที่ดินจํานวน 12 ไร ของตนเอง เปนแปลงเกษตรอินทรีย โดยแบงตามหลักเกษตรทฤษฎี
               ใหม เปนที่นาปลูกขาว 10 ไร สวนอีก 2 ไร เปนพื้นที่ปลูกบานพักอาศัย โรงเรือนเก็บเครื่องมือการเกษตร

               โรงเรือนเพาะเห็ด คอกเลี้ยงสัตว แปลงผัก และสระน้ํา โดยมุงเนนการทําเกษตรอินทรีย มีการปลูกพืชและ

               เลี้ยงสัตวมากมาย ที่สําคัญมีการใชน้ําหมักชนิดพิเศษที่นายอุดมไดคิดคนสูตรขึ้นมาใชเองและไดผลดีเกินคาด
               นําไปฉีดพนชวยเพิ่มธาตุอาหารใหพืชแข็งแรง หรือนําไปผสมกับอาหารสัตวก็ชวยใหสัตวแข็งแรง ไมเปนโรค

               ปจจุบันเปนแหลงเรียนรูดานเกษตรพอเพียง มีคนเขามาศึกษาดูงานกันอยางตอเนื่อง























                              ภาพที่ 2-93 วิสาหกิจชุมชนกลุมผลิตเกษตรอินทรียปลอดภัยบานดอนอุโลก


                                             8.7 ศูนยศึกษายางนา แกหนี้ แกจน

               ตั้งอยูที่หมู 10 ตําบลหันคา อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ในพื้นที่ทั้งหมด 17 ไร เปนหองเรียนธรรมชาติ เพื่อ
               ใชศึกษา วิจัย ดวยการปลูกตนยางนา จํานวน 20,000 ตน ไวเปนกลุมๆ ศูนยศึกษายางนา แกหนี้ แกจน กอตั้ง

               โดยนายณรงค สังขะโห ผูศึกษาคนควาและมีองคความรูเกี่ยวกับการเพาะปลูกตนยางนา การวิจัยเพาะเลี้ยง

               เห็ดเผาะใตตนยางนา ยางนาเปนไมอเนกประสงค แทบทุกสวนสามารถกอใหเกิดประโยชนทั้งทางตรงและ
               ทางออม เปนแหลงอาหารปา แหลงนันทนาการ น้ํามันยางใชเปนสมุนไพรและเนื้อไมเหมาะสําหรับใชสอย

               ทั่วไป เหตุผลในการจัดตั้งศูนยคือการมองวาพันธุไมชนิดนี้กําลังจะหมดไปจากผืนปาของไทย เนื่องจากมีการ

               ตัดไปใชประโยชน โดยไมไดปลูกเพิ่ม ปจจุบันศูนยศึกษายางนา แกหนี้ แกจน เปดเปนแหลงเรียนรู เพื่อขยาย
               ผลการปลูกปาใหแพรกระจายทั่วประเทศและยังสงเสริมใหเปนแหลงทองเที่ยววิถีเที่ยวบนคันนา

               ชมเห็ดเผาะบนคันนา เรียนรูบนคันนา กินบนคันนา นอนบนคันนา ที่ศูนยยางนา แกหนี้ แกจน




                                                          2 - 75
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99