Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                               2.9 โรงเรียนชาวนาบานคลองรี่

               ตั้งอยูที่หมู 4 ตําบลหวยกรด อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท การทํานาขาวเปนอาชีพหลักของอําเภอสรรคบุรี
               แทบทุกครัวเรือนมีอาชีพทํานา มีรายไดหลักจากการทํานา ไมวาจะขายในรูปแบบขาวโรงสีหรือเมล็ดพันธุ การ

               ที่จะไดมาซึ่งผลผลิตที่คุมทุนและมีคุณภาพตองเริ่มตั้งแตการจัดการในทุกขั้นตอนของการทํานา การจัดการ

               เมล็ดพันธุเปนเรื่องสําคัญในการทํานา นอกจากจะทําใหอัตราการงอกของเมล็ดพันธุดีแลว ยังสามารถปองกัน
               โรคและแมลงศัตรูพืชตางๆ ไดอีกดวย ปจจุบันนอกจากอบรมใหความรูเรื่องการจัดการเมล็ดพันธุแลว โรงเรียน

               ชาวนาบานคลองรี่ยังมีกิจกรรมอบรมดานการเกษตร เชน การลงสํารวจแปลงปลูกพืช การวิเคราะหระบบ

               นิเวศ การจัดการดิน น้ํา ปุย และพัฒนาการพืช การทําสมุนไพร มีนายสุนทร มณฑา เปนประธาน


























                                 ภาพที่ 2-35 ภูมิปญญาดานการเกษตรที่โรงเรียนชาวนาบานคลองรี่

                               ภาพที่ 2-36 กิจกรรมอบรมดานการเกษตรที่โรงเรียนชาวนาบานคลองรี่


                                          2.10 กลุมแมบานเกษตรกรบานสระไมแดง

               ตั้งอยูที่หมู 16 ตําบลแพรกศรีราชา อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท การทําสมุนไพรไลยุงเกิดจากเกษตรกร

               บานสระไมแดงไดรวมตัวกันจัดตั้งกลุมอาชีพ เมื่อ พ.ศ.2537 ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานเกษตร
               อําเภอสรรคบุรี โดยนํามาทําขนมจําหนาย สมาชิกกลุมไมมีความชํานาญเรื่องการตลาดทําใหจําหนายไมดี

               จึงรวมตัวกันทําปุยหมักชีวภาพขายใชเองในกลุม ตอมาเมื่อจังหวัดชัยนาทจัดงานสมโอขาวแตงกวา พ.ศ.2548
               และใหเกษตรกรผลิตอาหารหรือสมุนไพรที่มีสวนประกอบของสมโอเพื่อสงเขาประกวด นางสุพิทย ศรีทอง

               ประธานกลุม ผูจุดประกายการทําสมุนไพรไลยุง จากภูมิปญญาปูยาตายาย ใชเปลือกสมโอ ตะไครหอม จุดไฟ

               ไลยุง มาสรางสรรครูปแบบเปนสมุนไพรไลยุงสงเขาประกวด ไดรับรางวัลชนะเลิศ และเมื่อสมาชิกกลุมทดลอง
               ใชไดผลดีจึงพัฒนาตอมา จนไดรับมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชัยนาทแบรนด ตลอดจนสงเขาคัดสรร OTOP

               พ.ศ.2552 ไดระดับ 4 ดาว และจดสิทธิบัตร



                                                          2 - 51
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75