Page 69 -
P. 69

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                     2.8 ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษตาลโตนด

               ตั้งอยูที่ตําบลหวยกรด อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท เดิมตําบลหวยกรดมีตนตาลปลูกอยูหนาแนน แตถูกโคน
               ลมจากการปฏิรูปที่ดิน สงผลใหเหลือเพียงบางสวน ใหลูกหลานไดทําตาลโตนดเพื่อบริโภคและเปนอาชีพเสริม

               โดยใชเวลาวางจากการทํานาแลวสามารถนําสวนตางๆ ของตาลโตนดมาใชประโยชนได เชน ไมตนตาล เนื้อไม

               แข็งมาก สามารถนํามาสรางบาน ทําเฟอรนิเจอร ชอดอกและงวงผลิตน้ําตาลสดพรอมดื่มและน้ําตาลปก
               ผล อายุ 45  วัน นําหัวตาลมาทําอาหารได อายุ 65  วัน เฉาะลอนตาล (ตาลสด) ระหวางเดือนเมษายน-

               มิถุนายนของทุกป ผลตาลแก เนื้อทําขนมตาล ระหวางเดือนกรกฎาคม-กันยายนของทุกป เมล็ดแกตาลสุก

               ทําจาวตาล กะลา (เปลือกนอกเมล็ดตาล) นําไปเผาทําถานคุณภาพดี อีกทั้งเศษขี้เถาสามารถนําไปลางหองน้ํา
               ไดดวย จากประโยชนของตาลโตนดที่ยังคงอยูในตําบลหวยกรด ทําใหเกิดศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง

               การอนุรักษตาลโตนด เพื่อเปนการสืบทอดองคความรูเรื่องตาลโตนด เชน การปลูก การแปรรูป การสราง
               อาชีพเสริม เปนตน ปจจุบันมีนายวิชาญ จุยแจง เปนประธานกลุม กิจกรรมของศูนย ไดแก เปนศูนยกลาง

               การรับซื้อน้ําตาลสดจากเกษตรกรที่ไมพรอมจะเคี่ยวตาล การเคี่ยวน้ําตาลสดใหเปนน้ําตาลปกเพื่อจําหนาย
               เปนศูนยกลางรับซื้อน้ําตาลปก และการแปรรูปผลิตภัณฑจากใบตาล เชน การสานปลาตะเพียน ดอกไม

               เครื่องประดับสําหรับสุภาพสตรี การทําแจกัน เปนตน





























                                  ภาพที่ 2-33 ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษตาลโตนด

                                 ภาพที่ 2-34 ฐานการเรียนรูการใชประโยชนจากสวนตางๆ ของตาล









                                                          2 - 50
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74