Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ชวงเวลาการใหอาหารปลาตองไมมีแดดจัดหรืออากาศรอน อยางในเวลาเชาตรูหรือชวงเย็นกอนพระอาทิตยตก

               หรือกอนถึงเวลาจับปลาขายราวๆ 2 เดือน ผูเลี้ยงบางรายเสริมสรางคุณภาพเนื้อปลาดวยการใชไขผสมกับ
               อาหารหรือกลวยสุกผสมกับอาหารแลวใหปลากรายกิน พบวาคุณสมบัติของไขและกลวยทําใหเนื้อปลามีสีสวย

               และรสชาติหวานหอม นอกจากนั้นแลว การปลูกกลวยและมะละกอริมขอบบอเลี้ยงปลายังชวยปองกันศัตรูที่

               จะเขามาทํารายปลาดวย ปจจุบันมีสมาชิกจํานวน 35 ราย แตละรายมีพื้นที่เลี้ยงปลา 2 ขนาด คือ บอขนาด
               2 ไร เลี้ยงปลากรายไดประมาณ 20,000 ตัว และบอขนาด 1 ไร เลี้ยงปลากรายไดประมาณ 10,000 ตัว



























                                 ภาพที่ 2-16 วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรปลากรายจังหวัดชัยนาท




                                       1.10 กลุมผูผลิตเมล็ดพันธุขาวตําบลนางลือ-ทาชัย
               ตั้งอยูหมูที่ 10 ตําบลทาชัย อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เมื่อ พ.ศ.2522 เกษตรกรที่ทํานาของตําบลนางลือและ

               ตําบลทาชัยไดรวมกลุมกันผลิตเมล็ดพันธุขาวใหศูนยขยายพันธุพืชที่ 4 จังหวัดชัยนาท จํานวน 9 ราย และไดมี
               การพัฒนาความรู ทักษะ สรางสมประสบการณ จนมีความเชี่ยวชาญ ขยายพื้นที่และจํานวนเกษตรกรมากขึ้น

               ไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติมความรูตอเนื่องจากหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ จนเปนที่ยอมรับของศูนย

               ขยายพันธุที่ 15 จังหวัดนครสวรรค ศูนยขยายเมล็ดพันธุพืชที่ 5 จังหวัดลพบุรี ไดมาทําแปลงผลิตเมล็ดพันธุ
               ขาวในเขตพื้นที่ของตําบลนางลือและทาชัย จนมีเกษตรกรที่สามารถผลิตเมล็ดพันธุขาวเพิ่มมากขึ้น มีปริมาณ

               การผลิตมากเกินความตองการของศูนยขยายพันธุพืชทั้ง 3 แหลง ดังนั้น เกษตรกรที่มีเมล็ดพันธุที่เหลือจากสง

               ใหทางราชการ ไดทําการคัดเมล็ด ทําความสะอาด แลวบรรจุกระสอบจําหนายใหเกษตรกรในชุมชนและตําบล
               ขางเคียงในราคาที่ยุติธรรม ทําใหเปนที่นิยมของเกษตรกรทั่วไป มีเกษตรกรบางรายไดดําเนินการจนเปนธุรกิจ

               ที่มั่นคง สวนที่ไมมีทุนก็รวมตัวกันในรูปของกลุมตั้งชื่อวา “กลุมผูผลิตเมล็ดพันธุขาวตําบลนางลือ-ทาชัย”

               จนถึง พ.ศ.2546 หนวยราชการเห็นความเขมแข็งของกลุม ความสามารถและความเชี่ยวชาญในการผลิต



                                                          2 - 42
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66