Page 60 -
P. 60

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                           1.8 ศูนยการเรียนรูชุมชนปวย อึ๊งภากรณ

               ตั้งอยูที่หมู 6 ตําบลบานกลวย อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาทเปนองคกรพัฒนาเอกชนแหงแรกของประเทศไทย
               กอตั้งเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2510 โดยมีศาสตราจารย ดร.ปวย อึ๊งภากรณ เปนผูนําในการกอตั้งรวมกับ

               คณะบุคคลในราชการและธุรกิจเอกชน ดวยความมุงมั่นที่จะบูรณะและพัฒนาใหชาวชนบทไทยมีสภาพความ

               เปนอยูที่ดีขึ้น บนฐานปรัชญาแหงการพัฒนา คือ ผลประโยชนของชุมชนและการมีสวนรวมเปนหลัก มีพื้นที่
               กวา 33 ไร เปนแหลงเผยแพรแนวคิดและวิธีปฏิบัติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและองคความรูเรื่อง

               เกษตรอินทรีย โดยไดกอสรางอาคารตางๆ เพื่อรองรับการจัดฝกอบรมและกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เชน

               แปลงสาธิตการปลูกขาวอินทรีย การทํานาโยน การเกี่ยว การนวด การสีขาวดวยมือ การเลี้ยงหมูปา
               ควายเผือก สวนผักปลอดสารเคมี เรือนสมุนไพร อาศรมสุขภาวะดี-วิถีไทย ฐานเรียนรูโรงเรือนเลี้ยงไสเดือน

               ผลิตปุยขี้ไสเดือน การนําถานมาพัฒนาเปนผลิตภัณฑตางๆ ไดแก น้ําสมควันไม สบู แชมพู เปนตน





























                                   ภาพที่ 2-14 ฐานเรียนรูโรงเรือนเลี้ยงไสเดือน ผลิตปุยขี้ไสเดือน

                                    ภาพที่ 2-15 ฐานเรียนรูในน้ํามีปลา บอปลานิลและปลาสวาย




                                   1.9 วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรปลากราย จังหวัดชัยนาท
               ตั้งอยูที่หมู 5 ตําบลบานกลวย อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เกิดจากการรวมตัวกันจัดเพื่อรวบรวมปลากรายสด

               ขายใหกับผูรับซื้อโดยตรง ขณะเดียวกันยังมีการแปรรูปเนื้อปลากรายดวย มีนายเกษม ทับหราย เปนประธาน

               กลุม ปลากรายที่เลี้ยงมีขนาดใหญและเนื้อปลามีความหวานหอม ปจจุบันกลุมลูกคาที่ทําธุรกิจจําหนาย
               ปลากราย ไดแก กลุมผูประกอบการรานอาหาร โตะจีนในจังหวัดชัยนาท ขณะเดียวกันไดขยายตลาดออกไปยัง

               จังหวัดใกลเคียงอื่นๆ รวมทั้งกรุงเทพฯ ทางกลุมไดนําความรูจากภูมิปญญาชาวบานมาใชรวมกับการเลี้ยง เชน



                                                          2 - 41
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65