Page 75 -
P. 75
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัฐบำลโปรตุเกตมีนโยบำยในกำรสนับสนุนอุตสำหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้ำ โดยใช้
งบประมำณ 850 ล้ำนยูโร เพื่อกำรผลิตเพื่อกำรส่งออก ประเทศสเปนเองก็เป็นศูนย์กลำงกำรผลิตไหม
ขนำดเล็กเพื่อกำรส่งออก นโยบำยผลักดันกำรส่งออกดังกล่ำวจะเป็นตัวกระตุ้นตลำดไหมในภูมิภำค โดยมี
กำรคำดกำรณ์ว่ำตลำดไหมของประเทศอื่นๆ ในภูมิภำคยุโรปโดยรวมจะเติบโตในอัตรำเฉลี่ยต่อปีร้อยละ
5.1 และ 3.6 ของมูลค่ำและปริมำณในช่วงปี พ.ศ. 2559 ถึง 2564 (ตำรำงที่ 2.27 และ 2.28)
2.4 แรงผลักดัน ข้อจ้ากัด โอกาส และความท้าทายในตลาดไหมโลก
2.4.1 แรงผลักดัน (Drivers)
1) ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีกำรเลี้ยงไหม
กำรเลี้ยงไหมนั้นเป็นอุตสำหกรรมดั้งเดิมที่มีมำอย่ำงยำวนำนในประเทศจีนและอินเดีย ซึ่ง
เทคโนโลยีกำรเลี้ยงไหมและผลิตเส้นไหมนั้นเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป ในช่วงปี พ.ศ. 2523 เป็นต้นไปนั้น
ประเทศอินเดียได้มีกำรพัฒนำเทคโนโลยีกำรเลี้ยงไหมอย่ำงต่อเนื่องภำยใต้โครงกำร National
Sericulture Project ซึ่งภำยใต้โครงกำรนี้ได้มีกำรใช้พันธุ์ไหมหม่อนที่ให้ผลผลิตสูง ได้แก่ พันธุ์ V-1, S-
13 และ S-36 รวมถึงมีกำรพัฒนำหนอนไหมพันธุ์ใหม่ ๆ เช่น CSR2XCSR4, SH6XNB4D2, CSR2XCSR4,
NB18XP5, SH6XKA, YS3XSF19 และ Dun6XDun22 นอกจำกนี้ยังมีกำรปรับปรุงวิธีกำรเลี้ยงไหมให้
เหมำะสมมำกขึ้น ให้สำมำรถเพิ่มทั้งปริมำณและคุณภำพของผลผลิตไหมได้อย่ำงชัดเจน จำกผลผลิตเพียง
14 ถึง 20 กิโลกรัมต่อเฮกเตอร์ในช่วงปี พ.ศ. 2500 และ 2510 เป็น 85.02 กิโลกรัมต่อเฮกเตอร์ในปี พ.ศ.
2547 และ 2548
นอกจำกนี้ยังพบว่ำควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีหลังกำรเลี้ยงตัวไหม เช่น เครื่องต้มระบบ
สำยพำนอัตโนมัติส ำหรับกำรสำวไหม กำรสำวไหมจำกรังที่เสียด้วยเครื่องจักร (Dupion silk reeling
machine) เพื่อให้ได้ไหมคุณภำพสูง กำรใช้ระบบให้ควำมร้อนน้ ำพลังแสงอำทิตย์ในกำรต้มและสำวรังไหม
เหล่ำนี้ส่งผลกระทบอย่ำงมำกต่อกำรผลิตในอุตสำหกรรมไหม โดยมีหลำยหน่วยงำนที่มีกำรคิดค้นและ
พัฒนำเทคโนโลยีต่ำง ๆ อย่ำงต่อเนื่อง เช่น The Institute of Agricultural Science and Technology
ภำยใต้ The Rural Development Administration ในประเทศเกำหลีใต้ และ the Central
Sericulture Research and Training Institute ในประเทศอินเดีย
56