Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy

                      2.2.6 นิวซีแลนด๑

                          นิวซีแลนด๑ยังไมํมียุทธศาสตร๑ทางด๎าน Bioeconomy เป็นของตนเอง แตํมียุทธศาสตร๑

                   เศรษฐกิจทางด๎านชีวภาพหลายอยํางที่มีบทบาทเกี่ยวข๎องกับทาง Bioeconomy เชํน Business

                   Growth Agenda ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งเกี่ยวข๎องกับยุทธศาสตร๑ทางด๎านการสํงเสริมนวัตกรรม ทั้งใน
                   ภาคธุรกิจหลัก และอุตสาหกรรมการเกษตร โดยมีการให๎ทุนวิจัยในรูปของโครงการ Biological

                   Industries Research Fund (2013) นอกจากนี้ยังมีการสํงเสริมการใช๎พลังงานทดแทนจากพลังงาน

                   น้ํา และพลังงานความร๎อนภาคพื้นดิน โดยยุทธศาสตร๑พลังงาน ปี พ.ศ. 2554-2564 ได๎มีการสํงเสริม

                   งานวิจัยและพัฒนาทางด๎านพลังงานชีวภาพ ซึ่งเน๎นในการศึกษาพลังงานชีวภาพจากปุาไม๎ และ
                   เชื้อเพลิงชีวภาพ กระทรวงเศรษฐกิจเป็นผู๎รับผิดชอบการวางแผนยุทธศาสตร๑ ในลักษณะการรํวมมือ

                   กันระหวํางนางจ๎างและนายทุน เพื่อให๎เกิดการพัฒนานวัตกรรมโดยมุํงไปที่ อุตสาหกรรมทางชีวภาพ

                   ที่มีเปูาหมายรํวมกัน คือเพิ่มการสํงออกของประเทศให๎ได๎สองเทําภายในปี 2568  จากการพัฒนา

                   ผลิตภัณฑ๑นวัตกรรมที่มีมูลคําสูง โดยเฉพาะในภาคธุรกิจหลักนวัตกรรมภาคธุรกิจควรจะชํวยเพิ่ม GDP
                   ของประเทศอยํางน๎อย 1      เปอร๑เซ็นต๑ นอกจากนี้ยังมีความรํวมมือในการวิจัยและพัฒนากับ

                   ตํางประเทศ โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ประเทศจีนและสิงคโปร๑

                          ยุทธศาสตร๑นวัตกรรมของอุตสาหกรรมทางชีวภาพ มีสองเปูาหมายหลักคือ 1)  เพิ่ม

                   ความสามารถทางการแขํงขันของภาคธุรกิจหลักและความยั่งยืนของธุรกิจ และ 2)  พัฒนาอาหาร
                   มูลคําสูงและการใช๎อุตสาหกรรมชีวภาพรวมถึงพลังงานชีวภาพด๎วย



                      2.2.7 รัสเซีย

                          ยุทธศาสตร๑ทางด๎าน Bioeconomy ของรัสเซียเน๎นการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเป็นหลัก
                   เพื่อที่จะตาม Bioeconomics  ของโลกให๎ทัน รัสเซียได๎มีการรําง Comprehensive  Program  for

                   Development of Biotechnology – BIO2020 โดยนักวิจัยทางด๎านเทคโนโลยีสํวนใหญํ มีการนํา

                   นโยบายทางด๎าน Bioeconomy ไปใช๎ เชํนมีการทําโปรแกรม “Bioindustry  and  Bioresources-

                   Biotech  2030”,  “Bioenergetics”  และ “Medicine  of  the  Future”  เป็นต๎น  นอกจากนี้
                   กระทรวงตํางๆ เชํน กระทรวงพัฒนาอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมและการค๎า กระทรวง

                   เกษตร และ กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล๎อม ยังมีความรํวมมือกันเพื่อตอบสนองนโยบาย

                   BIO2020 อีกด๎วย

                          Bioeconomy  Nanoindustry  และเทคโนโลยีสารสนเทศจัดเป็นพื้นฐานของการสร๎าง
                   เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหมํ ดังนั้นการจัดการทางด๎าน Bioeconomy ควรจะชํวยเพิ่มมูลคํา

                   ของอุตสาหกรรม และสามารถนําทรัพยากรที่มีอยํางมหาศาลของประเทศมาใช๎ได๎ โดยเฉพาะด๎านการ

                   ใช๎พื้นที่ และชีวมวลจากปุาไม๎ นอกจากนี้การพัฒนาทางด๎าน Bioeconomy ควรจะชํวยลดชํองวําง


                                                            41
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66