Page 60 -
P. 60
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
Bioeconomy โดยเฉพาะยังไมํมี
การสนับสนุนทางด๎านชีวพลังงานโดยมากเน๎นด๎านการกระจายความทั่วถึงของการใช๎พลังงาน
ที่มีผลในการสํงเสริมเศรษฐกิจของประเทศ สํงเสริมการพัฒนาอยํางยั่งยืน และรวมถึงการปรับปรุง
ทางด๎านสาธารณสุขในเขตชนบท สําหรับนโยบายทางด๎านเกษตรกรรม เน๎นในเรื่องของความ
ปลอดภัยของอาหาร การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ และการอนุรักษ๑แหลํงทรัพยากรธรรมชาติที่มี
มูลคํา ในขณะที่มีการกระจายความเจริญไปสูํพื้นที่ตํางๆ ดังนั้นอุตสาหกรรมเกษตรจัดเป็น
อุตสาหกรรมหลักของประเทศอินโดนีเซีย (การจ๎างงานมากกวํา 30 เปอร๑เซ็นต๑อยูํในภาคเกษตรกรรม)
ซึ่งการวางนโยบายทางเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ มีการเปลี่ยนจากอุตสาหกรรมเกษตรยั่งยืน เป็น
ผลิตภัณฑ๑ที่มีความหลากหลาย เชํน อาหารสุขภาพ ผลิตภัณฑ๑เพิ่มมูลคําจากสินค๎าเกษตรกรรม
พื้นเมืองและอาหารจากสัตว๑น้ํา เป็นต๎น
2.2.5 มาเลเซีย
มาเลเซียเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต๎ที่มีการพัฒนายุทธศาสตร๑ทางด๎าน
Bioeconomy แบบองค๑รวม โดยในปี พ.ศ. 2548 รัฐบาลได๎มีการวางนโยบายเพื่อรองรับการนํา
เทคโนโลยีชีวภาพไปใช๎ โดยแบํงออกเป็น 3 เฟสด๎วยกัน คือ เฟสแรก (2548 - 2553) คือการประเมิน
ความสามารถในการสร๎างปัจจัยพื้นฐานที่จะรองรับการนําไปใช๎ของเทคโนโลยีชีวภาพ เฟสสอง
(2554-2558) คือการพัฒนาทางด๎านการค๎า การวิจัยและพัฒนา และเฟสสาม (2559-2563) คือ การ
นําเทคโนโลยีชีวภาพออกสูํตลาดโลก นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร๑เกี่ยวกับชีวมวลคือ National
Biomass Strategy (2011) ซึ่งเน๎นการกําหนดและการควบคุมราคาของชีวมวลที่ได๎จากการเกษตร
โดยเฉพาะปาล๑มน้ํามัน ตํอมาได๎มีการพัฒนาเกี่ยวกับการเพิ่มมูลคําผลิตภัณฑ๑ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ๑ที่
ได๎จากกระบวนการ Downstream จากแหลํงทรัพยากรชีวภาพในประเทศ โดยผู๎รับผิดชอบในการ
รํางนโยบายดังกลําวคือ กระทรวงวิทยาศาสตร๑ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยได๎รับการสนับสนุนจาก
รัฐบาล เปูาหมายของนโยบายทาง Bioeconomy ของประเทศมาเลเซีย คือการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ
มีองค๑ความรู๎ให๎ได๎ภายในปี พ.ศ. 2563 โดยเน๎นในผลิตภัณฑ๑ที่เป็นจุดแข็งของประเทศ เชํน ฟาร๑ม
เพาะปลูก การผลิตผลิตภัณฑ๑ นอกจากนี้ยังรวมถึง การกระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมใหมํ เชํน ยา
แผนโบราณ และผลิตภัณฑ๑อาหาร สําหรับยุทธศาสตร๑ทางด๎านชีวมวลในปัจจุบันนั้น มาเลเซียมี
เปูาหมายในการเพิ่มมูลคําของแหลํงทรัพยากรชีวภาพ และพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมใหมํ
40