Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






              หารายไดเพิ่มไดอีก จนกลายเปนการประกอบการที่สามารถสรางรายไดอยางมาก ผูประการสวนมากจะ

              รับจางเกี่ยวนวดในพื้นที่ใกลเคียงกับไรนาของตนเองกอน หลังจากนั้นจึงนําเครื่องเกี่ยวนวดออกไปใหบริการ

              นอกพื้นที่ที่ตนอยูอาศัย ไปตางจังหวัดและภูมิภาคตางๆ หรือทั้งประเทศ การดําเนินการจึงตองมีนายหนาใน
              ทองถิ่นเปนผูประสานงาน ซึ่งเครื่องเกี่ยวนวดแตละคันจะมีนายหนาประสานงาน 1 - 3 คน (วินิต  ชินสุวรรณ

              และคณะ, 2542) อัตราคาบริการในการเกี่ยวนวดขาวนาปอยูที่ 800 บาทตอไร ถาเปนขาวนาปรังอัตรา

              คาบริการจะอยูที่ 500 - 550 บาทตอไร แลวแตความยากงายในการเกี่ยวและสภาพตนขาว ขาวนาปมีอัตรา
              แพงกวาเพราะตนขาวสูง ทําใหเกี่ยวไดยากกวา โดยนายหนาจะไดคาติดตอประสานงานไรละ 50 - 70 บาท

              เมื่อเกี่ยวนวดดวยเครื่องจักรเสร็จเกษตรกรสามารถนําไปตากแลวขาย หรือนําไปขายไดเลย ถาจาง

              แรงงานคนในการเก็บเกี่ยว อัตราคาจางแรงงานจะอยูที่วันละ 200 - 300 บาทตอคน หรือถาจางเหมาอัตรา
              คาจางจะอยูที่ 1500 - 2000 บาทตอไร นอกจากนั้นยังตองเสียคาใชจายจางแรงงานเพิ่มอีกในการ มัด เก็บ

              ขน คาจางตากและคาจางนวดอีก ซึ่งเมื่อรวมหมดแลวคาใชจายจะสูงกวาการจางเครื่องเกี่ยวนวดมาก
              อยางไรก็ตามการใชแรงงานคนในการเกี่ยวขาวจะมีปริมาณขาวตกในแปลงนานอยกวามาก (สุภาภรณ  และ

              คณะ, 2557) การศึกษาของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรใหขอมูลที่แตกตางออกไปบาง โดยรายงานที่เก็บ

              ขอมูลในปเพาะปลูก 2552/2553 ระบุวาอัตราคาจางเครื่องจักรในการเกี่ยวนวดของการปลูกขาวนาปเทากับ
              ประมาณ 508 บาทตอไร และประมาณ 432 บาทตอไร ในการเก็บเกี่ยวขาวนาปรัง ในการศึกษาเดียวกัน

              พบวา โดยเฉลี่ยแลวเครื่องเกี่ยวนวดหนึ่งเครื่องจะรับจางเกี่ยวนวดขาวเปนพื้นที่ 1,487 ไร ในเวลาหนึ่งป มี

              ตนทุนในการเกี่ยวขาวนาปและนาปรังโดยเฉลี่ย 395.94 และ 319.03 บาท/ไร ตามลําดับ  และมีรายไดจาก
              การเกี่ยวขาวนาปและนาปรังโดยเฉลี่ย 446,059 และ 254,270 บาท/คัน/ป ตามลําดับ (โอภาส  พรรณเสมา

              และสองสกณ  บุญเกิด, 2558) ในการศึกษาสถานภาพผูประกอบการรับจางเกี่ยวนวดขาวพบวา
              ผูประกอบการมีประสบการณในการทําธุรกิจไมเกิน 10 ป สวนใหญจะมีภูมิลําเนาอยูในภาคกลางและ

              ภาคเหนือตอนบน โดยเฉลี่ยมีเครื่องเกี่ยวนวดขาวรายละ 2 เครื่อง เปนแบบมีถังบรรจุ ผานการใชงานมาแลว

              ไมเกิน 6 ป ทําการเกี่ยวนวดขาวขามภูมิภาคเพื่อเพิ่มจํานวนวันปฏิบัติการในแตละป คาใชจายหลักไดแก คา
              น้ํามันเชื้อเพลิงและคาซอมแซมและบํารุงรักษา อัตราคารับจางขึ้นอยูกับพื้นที่ปฏิบัติงาน เครื่องเกี่ยวนวด

              แบบถังอัตราเฉลี่ยคาบริการอยูที่ 462 บาทตอไร สวนเครื่องเกี่ยวนวดแบบบรรจุกระสอบอัตราเฉลี่ย

              คาบริการอยูที่ 431 บาทตอไร (วินิต  ชินสุวรรณ, 2543)

                      การประกอบการรับจางเกี่ยวนวดขาวอีกประเภทหนึ่งไดแกการรวมกลุมของเกษตรกร ทั้งนี้

              เกษตรกรจะรวมกันหาแหลงเงินทุนและประกอบการรับจางเกี่ยวนวดขาวในนามของกลุม เชน กลุมเกษตรกร
              บานดอนขมิ้น และบานหนองกกหมาก ต.ดอนขมิ้น จ.กาญจนบุรี ไดรวมจัดทําโครงการรถเกี่ยวนวดขาว

              “SML” โดยผานประชาคมหมูบาน แหลงเงินทุนในการจัดหาเครื่องเกี่ยวนวดขาว คือ เงินโครงการ “SML”

              เงินสนับสนุนจาก “อบต.” และเงินยืมจากกลุมสัจจะออมทรัพย ดานการบริหารจัดการ ดําเนินการในรูป
              คณะกรรมการ โดยแบงเปนฝายหาพื้นที่ จัดคิว ดูแลรถและตรวจสอบ โดยไดรับผลตอบแทน การศึกษา

              ตนทุนและผลตอบแทนของกลุมพบวา พื้นที่ใหบริการโดยเฉลี่ย 1,500 ไร/คัน/ป อัตราคาจางทั้งนาป และนา

                                                          10
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25