Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





            ประโยชน์ของโครงกำรธนำคำรโค-กระบือเพื่อเกษตรกรรมตำมพระรำชด�ำริ

            ด้านเกษตรกร

                   ๑.  มีโค-กระบือไว้ใช้แรงงาน
                   ๒.  ประหยัดแรงงานประหยัดเงินในการเช่าสัตว์และค่าจ้างในพื้นที่
                   ๓.  ได้มูลสัตว์เป็นปุ๋ยในการบ�ารุงดินและเป็นประโยชน์ต่อพืช สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม
                   ๔.  ได้ลูกโค-กระบือหรือแม่โค-กระบือเป็นของตนเอง
                   ๕.  มีรายได้เพิ่มขึ้นท�าให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

                   ๖.  ได้รับสิ่งอันเป็นมงคลแก่ครอบครัวจากโค-กระบือที่รับพระราชทาน
                   ๗.  เกษตรกรมีสุขภาพดีขึ้นเพราะไม่ต้องใช้สารเคมีในการปลูกพืช
                   ๘.  เกษตรกรมีความรับผิดชอบต่อสัตว์ในโครงการ รับผิดชอบต่อกลุ่ม เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้มีสุขภาพแข็งแรง

                   ๙.  มีการลงทุนในการเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้น และมีกิจกรรมต่อยอดจากโครงการเพิ่มขึ้น
            ด้านสังคมและประเทศชาติ
                   ๑.  ช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชนได้ดีขึ้น
                   ๒.  ประชาชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้น สามารถพัฒนาอาชีพของตนเองให้ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นท�าให้เศรษฐกิจของ
            ประเทศดีขึ้น

                   ๓.  ช่วยลดปัญหาอาชญากรรมได้ระดับหนึ่งเพราะประชาชนมีการกินดีอยู่ดีมีอาชีพ และได้รับความสะดวกสบาย
            มากขึ้น
                   ๔.  ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้นเพราะใช้ปุ๋ยคอกจากมูลโค-กระบือแทนปุ๋ยเคมี

                   ๕.  เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชน ท�าให้ประชาชนเกิดทัศนคติที่ดีต่อ
            หน่วยงานของรัฐ
                   ๖.  ชุมชนในท้องถิ่นมีความมั่นคง สงบสุขและชุมชนเกิดความแข็งแรง
                   ๗.  ประชาชนในสังคมได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร เช่น การบริจาคโค-กระบือ
            การบริจาคทรัพย์เพื่อจัดซื้อ จัดหา ไถ่ชีวิตโค-กระบือให้โครงการได้น�ามาแจกให้เกษตรกรที่ยากจน

                   ๘.  ประชาชนไม่ต้องอพยพแรงงานไปท�างานต่างถิ่นท�าให้เกิดความรักความผูกพันในครอบครัวท�าให้ครอบครัว
            มีความสุข
                   ๙.  เกิดความรักความสามัคคีในกลุ่มของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

                   ๑๐.  ประชาชนมีส่วนร่วมในการด�าเนินโครงการ เช่น แจ้งเกิด แจ้งรายชื่อสมาชิกที่มีฐานะยากจนและตรวจสอบ
            การเลี้ยงดูสัตว์ในโครงการ
                   ๑๑.  หน่วยงานของรัฐบริหารงานต่าง ๆ ได้ดีขึ้นเพราะเกิดความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่างเกษตรกรกับเจ้าหน้าที่
            ของรัฐ
                   ๑๒.  เกษตรกรเกิดความร่วมมือร่วมใจ เอื้ออาทรต่อเกษตรกรในหมู่บ้าน และต่างชุมชน ท�าให้เกิดความ

            ภาคภูมิใจในการช่วยเหลือท�าให้เกิดความรักปรารถนาดีต่อกัน และสันติภาพและความสงบสุขแก่ชุมชน
















       98    ๑๖ ปี สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทย
             กับการมีส่วนร่วมอนุรักษ์พัฒนาควายไทยและเครือข่ายคนรักควาย
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105