Page 78 -
P. 78
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. กรณีตัวอย่ำง : กำรจัดกำรผลิตโคเนื้อเชิงกำรค้ำลูกค้ำธนำคำร
เพื่อกำรเกษตร และสหกรณ์กำรเกษตร
โครงกำรส่งเสริมและสนับสนุนสินเชื่อตลอดห่วงโซ่คุณค่ำโคเนื้อ
ฝ่ำยกิจกำรสำขำภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (ฝอบ.)
วัตถุประสงค์
1) เพื่อสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มมูลค่าผลผลิต (Value Added) ตลอดห่วงโซ่มูลค่าเพิ่ม
(Value Chain) โดยใช้เครือข่ายธุรกิจชุมชนและกระบวนการสหกรณ์เป็นกลไกการขับเคลื่อน
2) เพื่อสนับสนุนกระบวนการสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน เครือข่ายชุมชนและผู้ประกอบการให้สามารถ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ในการประกอบธุรกิจโคเนื้อคุณภาพอย่างครบวงจรเป็นการรองรับการจัดตั้ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
3) เพื่อขยายการผลิตโคเนื้อคุณภาพให้ครอบคลุมและเป็นต้นแบบการเลี้ยงโคเนื้อเชิงพาณิชย์
4) เพื่อสนับสนุนสินเชื่อเชิงรุกอย่างมีคุณภาพและครอบคลุมความต้องการของคนในชุมชน
กรอบกำรด�ำเนินงำนตำมโครงกำร
ระยะที่ 1 ฝ่ายกิจการสาขาภาคตะวันเฉียงเหนือตอนบนร่วมกับส�านักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดมุกดาหาร
ก�าหนดพื้นที่เปาหมายเพื่อคัดเลือกเป็นพื้นที่น�าร่องในการขับเคลื่อนภารกิจการด�าเนินงานตามโครงการ
และใช้เป็นรูปแบบตัวอย่าง ในการศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่ลูกค้าและพนักงานของธนาคารระหว่างสาขา
กับสาขา โดยได้คัดเลือกพื้นที่ในความรับผิดชอบของสาขาหนองสูง ในสังกัด สนจ.มุกดาหาร เป็นรูปแบบตัวอย่าง
(Prototype Model) เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการเลี้ยงโคเนื้อคุณภาพ และมีสหกรณ์การเกษตรหนองสูงจ�ากัด
จ.มุกดาหารช่วยสนับสนุนทั้งทางด้านการผลิต การจัดการ และการตลาด ทั้งสามารถผลิตและส่งเสริมการเลี้ยง
โคเนื้อที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาดระดับกลางและตลาดระดับบนได้
ระยะที่ 2 ด�าเนินการตามขั้นตอนของรูปแบบและวิธีการด�าเนินงานของโครงการส่งเสริมการเลี้ยง
โคเนื้อคุณภาพและสนับสนุนสินเชื่อตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) โคเนื้อคุณภาพ ในพื้นที่น�าร่อง ให้แล้วเสร็จ
ภายในไตรมาสที่ 2 ของปีบัญชี 2559
ระยะที่ 3 ประเมินผลโครงการในเบื้องต้น เพื่อขยายผลไปด�าเนินการในทุกพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด และสารคาม ให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 3 ของปีบัญชี 2559
ระยะที่ 4 ขยายผลในทุกพื้นที่ทุกจังหวัดในเขตด�าเนินงาน ฝอบ. ตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 ของปีบัญชี 2559
ระยะที่ 5 ประเมินผลโครงการทั้งระบบ และรายงานให้ ฝอบ. ทราบ
รูปแบบกำรผลิต
(1) เกษตรกรเลี้ยงโคแม่พันธุ์ผลิตลูกโคคุณภาพคือโคต้นน�้า โดยลูกโคหลังคลอดถึงหย่านม
(อายุ 5-7 เดือน) น�้าหนัก 200-250 กิโลกรัม และโครุ่นน�้าหนัก 250-350 กิโลกรัม และเตรียมความพร้อมโคขุน
เพื่อส่งโรงเชือดสหกรณ์ฯ
(2) เกษตรกรคัดเลือกโคเพศเมียไว้ท�าพันธุ์ ส่วนเพศผู้เลี้ยงต่อในลักษณะเลี้ยงคอกรวมเป็นโครุ่น
ถึงอายุ 1-1 ½ ปี น�้าหนัก 300-400 กิโลกรัม
76 คู่มือปฏิบัติงาน การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า ส�าหรับเจ้าหน้าที่
Commercial Beef Cattle Production Work Manual Official Edition