Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

               20                               บทที  2 การตรวจสอบเอกสาร


               สถิติ ความเพียงพอของนํ า ซึ งเป็นหนึ งในตัวชี วัดของทุนธรรมชาติมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ

               ทางสถิติ แต่ภาพรวมของทุนธรรมชาติระหว่างเกษตรกรทั ง 2 กลุ่ม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมี
               นัยสําคัญทางสถิติ ในขณะที ตัวชี วัดทุนทางการเงิน คือ รายได้จากการเกษตร มีความแตกต่างกันอย่าง

               มีนัยสําคัญทางสถิติ การเข้าถึงตลาดซึ งเป็นดัชนีของทุนทางกายภาพมีความแตกต่างกันอย่างมี

               นัยสําคัญทางสถิติ เช่นกัน (Pensuk and Shresthra, 2008)

                       ดังนั น กรอบแนวคิดในการดํารงชีพอย่างยั งยืนได้ถูกนําไปใช้อย่างหลากหลาย โดยมีการ

               พัฒนาตัวชี วัดสําหรับความเปราะบาง ทุนในการดํารงชีพ กลยุทธ์ในการดํารงชีพ และผลลัพธ์
               การดํารงชีพ ซึ งดัชนีที ได้รับการพัฒนานั นจะมีทั งความเหมือนและแตกต่าง ทั งนี ขึ นอยู่กับบริบทของ

               เรื องที ทําการศึกษา และได้พยายามวัดตัวชี วัดต่างๆ ให้ออกมาเป็นเชิงปริมาณเพื อประโยชน์ในการ

               นําไปวิเคราะห์ที หลากหลายมากขึ น แต่อย่างไรก็ตาม Baumann (2002) กล่าวไว้ว่า จุดอ่อนที ชัดเจน

               ของกรอบแนวคิดในการดํารงชีพอย่างยั งยืน คือ ค่อนข้างยากที จะวัดข้อมูลต่างๆ ภายในกรอบแนวคิด

               นี ให้ออกมาเป็นเชิงปริมาณ ทําให้เป็นการยากที จะทําการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบ (comparative
               assessment) แต่ไม่ได้หมายความว่าการพัฒนาตัวชี วัดที เฉพาะเจาะจงในบริบทที ศึกษาให้ออกมาใน

               เชิงปริมาณจะทําไม่ได้ การวัดตัวชี วัดต่างๆ ออกมาเป็นเชิงปริมาณจะเป็นประโยชน์ในการเปรียบเทียบ

               ให้เห็นความแตกต่างที ชัดเจนมากขึ น (Seeley, 2007) ทุนในการดํารงชีพมีทั งที มีตัวตน (tangible

               capital) และไม่มีตัวตน (intangible capital) ที เกี ยวกับผลลัพธ์ในการดํารงชีพและการผลิต
               (Scoones, 1998) และการกรอบแนวคิดนี โดยส่วนใหญ่จะอธิบายผลลัพธ์ในการดํารงชีพไว้กว้างๆ

               (Heek and Molla, 2009) อย่างไรก็ตามสําหรับในการศึกษานี ได้พยายามที จะกําหนดขอบเขตของ

               ผลลัพธ์การดํารงชีพให้เฉพาะเจาะจงมากขึ น โดยพัฒนาตัวชี วัดและวัดผลลัพธ์การดํารงชีพ ใน 3 ด้าน

               คือ ผลลัพธ์ด้านเศรษฐกิจ (economic performances) ลักษณะด้านสิ งแวดล้อม (environmental
               characteristics) และคุณลักษณะทางสังคม (social attributes) ซึ งผลลัพธ์ในการดํารงชีพดังกล่าว

               สามารถสะท้อนความสามารถอยู่รอดครัวเรือนเกษตรกร (farm viability) โดยตัวชี วัดผลลัพธ์ในการ

               ดํารงชีพข้างต้นมีทั งที สอดคล้องและแตกต่างกับการพัฒนาดัชนีชี วัดความสามารถในการอยู่รอด

               โดย Johnston et al. (2005) ที แบ่งดัชนีชี วัดความสามารถในการอยู่รอดเป็น 4 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ

               (economic viability indicators) ด้านระบบนิเวศน์ (ecological viability indicators) ด้านทุนมนุษย์
               (human capital viability indicators) และด้ านทุนสังคม (social capital viability indicators)

               Jurkenaite (2015) กล่าวไว้ว่า ไม่มีนิยามความอยู่รอดที ได้รับการยอมรับกันโดยทั วไป แต่ในการศึกษา

               ดังกล่าวได้นิยามความอยู่รอดออกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) การให้นิยามทั วไปที ให้เห็นภาพในทุกมิติ

               2) การให้คํานิยามที ใช้สําหรับการวิจัยประยุกต์ (applied research) สําหรับการให้นิยามความอยู่รอด
               ทั วไปที ให้เห็นภาพในทุกมิติจะไม่มีการกําหนดเส้นขอบเขตของการอยู่รอด (viability thresholds)

               แต่จะผสมผสานวิธีการของทฤษฎีเชิงระบบ (system theory approach) และประเด็นของความยั งยืน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57