Page 47 -
P. 47
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที 2 การตรวจสอบเอกสาร 15
2.2 กรอบแนวคิดการดํารงชีพชนบทอย่างยั งยืนและความสามารถอยู่รอดของครัวเรือน
เกษตรกร
ความยั งยืนของครัวเรือนเกษตรกรในโครงการวิจัยนี หมายถึง กรอบความยั งยืนของการ
ดํารงชีพในชนบท (sustainable rural livelihoods framework) ใช้ครัวเรือนเป็นหน่วยวิเคราะห์
กรอบวิเคราะห์พิจารณาพฤติกรรมบุคคลผ่านการพัฒนาการเกษตรและกิจกรรมนอกภาคเกษตร
บนพื นฐานของการสะสมสินทรัพย์และเงื อนไขของระบบ ซึ งจะส่งผลต่อการเพิ มขึ นหรือไม่เพิ มของ
สินทรัพย์ครัวเรือน ที เรียกว่า ความสามารถ (capability) (Chambers and Conway, 1991; Sikor,
2004) ความสามารถยังเกี ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางสังคม (social relations) องค์กร (organization)
และสถาบัน (institutions) ที จะกําหนดรูปแบบวิวัฒนาการของความแตกต่างในสินทรัพย์ภายใต้การ
ถือครองของครัวเรือน
สอดคล้องกันนี DFID (1999) ได้ให้คํานิยามไว้ว่า การดํารงชีพ คือ การใช้ทรัพยากรและ
ทํากิจกรรมเพื อให้มีชีวิตอยู่ ทรัพยากรอาจจะประกอบด้วย ทักษะส่วนบุคคลและความสามารถ เป็นต้น
ทุนมนุษย์ ที ดิน เงินออม และอุปกรณ์ต่างๆ คือ ทุนธรรมชาติ ทุนการเงิน และทุนทางกายภาพ
ตามลําดับ และการสนับสนุนที เป็นทางการจากกลุ่มต่างๆ หรือจากเครือข่ายที ไม่ได้มีการจัดตั ง
เป็นทางการเป็นกิจกรรมที อยู่ภายในทุนสังคม อย่างไรก็ตาม DFID ได้เน้นเรื องแนวคิดการดํารงชีพ
อย่างยั งยืนว่า ปัญหาส่วนใหญ่ที เกิดขึ นเพราะประชาชนมีความต้องการวัตถุหรือวัตถุนิยม ทําให้
นําไปสู่การดํารงชีพที ไม่ยั งยืน ดังนั น DFID จึงให้นิยามของการดํารงชีพอีกนิยามหนึ งว่า การดํารงชีพ
ประกอบด้วย ความสามารถ (capabilities) และทรัพย์สิน (assets) รวมทั งในเชิงวัตถุและในเชิงสังคม
และกิจกรรมที ต้องการเพื อการมีชีวิตอยู่ การดํารงชีพจะยั งยืนเมื อสามารถรับมือและกลับมาเป็นปกติ
จากแรงกดดัน เหตุการณ์ที คาดไม่ถึง คงความสามารถและทรัพย์สินไว้และสามารถเพิ มความสามารถ
และทรัพย์สินได้ ในขณะที ไม่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติที มีอยู่ (Chambers and Conway, 1991)
คํานิยามนี อธิบายชัดเจนว่า เน้นที ทรัพยากรธรรมชาติหรือความสามารถในการรองรับของ
ทรัพยากรธรรมชาติ และนี คือประเด็นสําคัญเพราะว่า การดํารงชีวิตอย่างยั งยืนมักถูกให้คํานิยาม
ในบริบทของการดํารงชีวิตในชนบท แต่แนวคิดการดํารงชีพอย่างยั งยืนมีความหมายกว้างขึ น
ครอบคลุมทั งหลักของความสามารถ ความเท่าเทียมและความยั งยืน ดังนั น การดํารงชีพอย่างยั งยืน
คือ ความสามารถในการดํารงชีพที ขึ นอยู่กับสิ งที มี (livelihood assets or resources) สามารถสร้าง
(capacity) หรือเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมและสามารถใช้ได้ ความยั งยืนขึ นอยู่กับความยืดหยุ่นหรือ
การคืนกลับสู่สภาพเดิมหลังจากเผชิญกับบริบทของความเปราะบางและไม่แน่นอนที มีการ
เปลี ยนแปลงตลอดเวลาโดยการเข้าถึงกลไกที จะรับมือที สามารถหาได้ในระยะสั นและความสามารถที
จะปรับตัวและกลับมาเป็นปกติในระยะยาวโดยปราศจากการทําลายทรัพย์สินหรือทุนในการดํารงชีพ
(McHugh, 1999)