Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                      โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                 ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                   ความเหลื่อมล้ าในฐานะของบุคคลในทางเศรษฐกิจและสังคม  พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
                   พ.ศ.  2518  ประกอบด้วย  5  หมวด  ได้แก่  หมวด  1  ส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหมวด  2

                   คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมและคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด หมวด 3 การด าเนินการปฏิรูป
                   ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หมวด 4 อุทธรณ์ และ หมวด 5 บทก าหนดโทษ

                                          แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาบางแห่งอาจตั้งอยู่ในพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อ

                   เกษตรกรรมหากต้องการเข้าไปใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อการบริหารจัดการและการอนุรักษ์แหล่งธรณีวิทยา
                   ตามมาตรา  30 แห่งพระราชบัญญัตินี้ได้บัญญัติไว้ว่า  นอกจากการจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร  ซึ่งใช้ประกอบ

                   เกษตรกรรมและสถาบันเกษตรกร ให้ ส.ป.ก.มีอ านาจจัดที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลใดเช่า เช่าซื้อ ซื้อ
                   หรือเข้าท าประโยชน์  เพื่อใช้ส าหรับกิจการอื่นที่เป็นการสนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับการปฏิรูปที่ดินตามที่
                   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษาได้ ทั้งนี้ ตามขนาดการถือครอง

                   ในที่ดินที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งต้องไม่เกิน 15 ไร่ ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตหรือ

                   การให้ผู้ได้รับอนุญาตถือปฏิบัติให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี การจัด
                   ที่ดินให้เช่าหรือเช่าซื้อตามมาตรานี้ไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการเช่าหรือเช่าซื้อ
                   และสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อดังกล่าวจะโอนแก่กันได้หรือตกทอดทางมรดกได้เฉพาะตามหลักเกณฑ์  วิธีการ

                   และเงื่อนไขที่คณะกรรมการก าหนด

                                 2.1.3.7   พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511

                                          พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511 ให้อ านาจแก่รัฐในการจัดที่ดิน

                   ของรัฐเพื่อให้ประชาชนได้มีที่ตั้งเคหะสถานและประกอบอาชีพเป็นหลักแหล่งในที่ดินนั้น  โดยจัดตั้งเป็นนิคม
                   พระราชบัญญัตินี้ประกอบด้วย 4 หมวด ได้แก่ หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 การจัดที่ดินในรูปนิคมสร้างตนเอง

                   หมวด 3 การจัดที่ดินในรูปนิคมสหกรณ์ และหมวด 4 บทก าหนดโทษ

                                          แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาบางแห่งอาจตั้งอยู่ในพื้นที่นิคมที่ตั้งขึ้นตาม
                   พระราชบัญญัตินี้ โดยพระราชบัญญัตินี้ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งอันควรอนุรักษ์ดังนี้


                                          มาตรา 14 ให้อธิบดีมีอ านาจปฏิบัติการในที่ดินภายในเขตของนิคมเกี่ยวกับไม้หวง
                   ห้าม  แร่  หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่นเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์เป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นส าหรับบ ารุง
                   ส่งเสริมกิจกรรมและการจัดท าสิ่งก่อสร้างอันเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมของนิคมได้โดยปฏิบัติการตามกฎหมายว่า

                   ด้วยการนั้น

                                          มาตรา 15 ห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปหาประโยชน์ ยึดถือ ครอบครองปลูกสร้าง ก่อสร้าง
                   แผ้วถาง เผาป่า หรือท าด้วยประการใดๆ อันเป็นการท าลายหรือท าให้เสื่อมสภาพที่ดิน หรือท าให้เป็นอันตรายแก่

                   ทรัพยากรธรรมชาติในที่ดินภายในเขตของนิคม  เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี  และให้อธิบดีมีอ านาจเรียก
                   เก็บเงินค่าบ ารุงตามจ านวนที่อธิบดีก าหนดโดยสมควรแก่กิจการนั้น  โดยเงินค่าบ ารุงนั้นให้ใช้เพื่อประโยชน์

                   ส่วนรวมของนิคม (มาตรา 16)




                                                             2-15
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43