Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                        49

                                   ของภาพ โดย MATLAB จะอางอิงถึงขอมูลตัวแรกในอารเรย ดวยคาประจําตําแหนง

                                   เปน (1,1)


                                   หลังการโหลดขอมูลแลวเราสามารถการเขาถึงขอมูลในแตละตําแหนงไดดวยการ
                                   พิมพชื่อตัวแปรที่เก็บภาพไวพรอมตําแหนงพิกเซลที่ตองการอานคา เชน เมื่อตองการ

                                   อานคาความเขมแสงของพิกเซลในตําแหนงแถวที่  12 หลักที่ 10 สามารถทําไดโดย

                                   การพิมพคําสั่งตอไปนี้


                                      >> im(12,10)
                                      ans  =

                                             64


                                   เมื่อผูอานตองการอานคาความเขมแสงของพิกเซลที่อยูระหวางแถวที่ 1  ถึงแถวที่ 8

                                   และ หลักที่ 10 ถึงหลักที่ 14 ผูอานสามารถทําไดโดยการพิมพคําสั่งตอไปนี้


                                      >> im(1:8,10:14)



                                   นอกจากนั้นผูอานสามารถใชเครื่องหมาย :  เพื่อบอกใหโปรแกรมทําการพิมพคาทุก

                                   คาในแถวหรือในหลักนั้นๆ  เชน  เมื่อตองการพิมพคาพิกเซลทุกพิกเซลที่อยูในแถวที่

                                   1 ทําไดดวยการใชคําสั่งตอไปนี้


                                      >> im(1,:)



                                   2.2.3  การอานภาพสีจริง



                                   ถาภาพที่อานเขามาเปนภาพสีจริง  คําสั่ง imread(.) จะอานภาพสีแลวเก็บขอมูลที่อาน
                                   ไดไวในอารเรย 3 มิติ ขนาด M×N×P โดย M เปนจํานวนแถวของภาพ  N เปนจํานวน

                                   หลักของภาพ และ P เปนจํานวนเพลน สําหรับภาพ RGB  คา P จะมีคาเปน 3 การ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63