Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี









                                คํานํา




                                เทคนิคการประมวลผลภาพดิจิทัลไดถูกนํามาประยุกตใชงานกันอยางแพรหลาย  ทั้ง

                                ในการแสดงภาพดิจิทัลบนคอมพิวเตอร  กลองถายภาพดิจิทัล  อุปกรณพกพา  ไดแก
                                โทรศัพทเคลื่อนที่   นอกจากนั้นยังถูกนําไปประยุกตใชในงานวิจัยในหลากหลาย

                                สาขา  ตัวอยางเชน  ใชประมวลผลภาพสําหรับการมองเห็นของหุนยนต  ประยุกตใช

                                ตรวจหาชิ้นสวนจักรกลแบบอัตโนมัติ  ประยุกตใชในงานดานการเกษตร  เชน  การ
                                ตรวจหาวัชพืช  การตรวจสอบความสุกของผลไม  เปนตน  นอกจากนั้นยังนิยม

                                ประยุกตใชในงานดานการแพทย เชน การตวจหาขนาดของเม็ดเลือด เปนตน


                                ในการเรียนรูวิชาการประมวลผลภาพดิจิทัลใหเขาใจอยางลึกซึ้งนั้น ประกอบไปดวย

                                การเรียนรูทั้งในสวนทฤษฎีและการเขียนโปรแกรมเพื่อทดลองและทดสอบทฤษฎี

                                นั้น  ๆ   ผูเขียนจึงไดจัดทําตํารานี้ขึ้นใหมีเนื้อหาครอบคลุมทั้งสวนที่เปนทฤษฎีและ

                                สวนของโปรแกรม โดยผูเขียนไดเลือกใชโปรแกรม MATLAB เปนเครื่องมือในการ
                                เรียนรู  ทั้งนี้เนื่องจากโปรแกรม MATLAB  เปนโปรแกรมที่งายตอการใชงาน  มี

                                ฟงกชันสําหรับการแสดงผลกราฟและรูปภาพใหผูเขียนโปรแกรมเรียกใชงานไดงาย

                                รวมทั้งมีฟงกชันสนับสนุนงานดานตาง  ๆ  ใหเรียกใชงานไดสะดวก  ทําใหยนระยะ
                                เวลาการพัฒนาโปรแกรมลง  ผูอานจึงสามารถทําความเขาใจเนื้อหาตาง  ๆ  ของวิชา

                                ไดมากขึ้น  ตําราเลมนี้ครอบคลุมเนื้อหาในสวนทฤษฎีการประมวลผลภาพดิจิทัลใน

                                เบื้องตน  โดยผูเขียนไดเขียนเนื้อหาขึ้นเองจากประสบการณการสอนวิชานี้ในระดับ
                                ปริญญาตรีและจากตําราตางประเทศหลายเลมตามที่อางอิงไวในบรรณานุกรม  และ

                                ผูเขียนไดลดทอนเนื้อหาในสวนที่เปนคณิตศาสตรของวิชานี้ลงเพื่อใหเหมาะสมตอ

                                การใชเปนตําราเลมแรกสําหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตรสาขาตางๆ ทั้งวิศวกรรมไฟฟา
                                คอมพิวเตอร เครื่องกล โยธา ที่นิสิตมีความรูพื้นฐานทางคณิตศาสตรที่แตกตางกัน


                                สุดทายนี้ผูเขียนขอขอบคุณคุณพอคุณแม  ครูบาอาจารย  เพื่อนและลูกศิษยสําหรับ

                                กําลังใจที่มีใหอยางตอเนื่อง  ผูอานสามารถสงคําติชมและความคิดเห็นสําหรับการ
                                ปรับปรุงตําราเลมนี้ผานทางผูเขียนไดที่  fengsyt@ku.ac.th  ผูเขียนขอขอบคุณไว  ณ

                                โอกาสนี้

                                                                                       สมหญิง ไทยนิมิต
                                                                                    29 เมษายน พ.ศ.2553
   1   2   3   4   5   6   7   8