Page 10 -
P. 10
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
1
บทที่ 1
ความรูเบื้องตน
มนุษยรับรูสิ่งตาง ๆ รอบ ๆ ตัวเราผานประสาทสัมผัสทั้งหา คือ การไดยินเสียง เห็น
ภาพ รูรส ดมกลิ่น และสัมผัส และเปนที่รูกันวามนุษยสามารถประมวลผลและ
ตีความสิ่งตาง ๆ ที่ตามองเห็นไดอยางรวดเร็ว มนุษยสามารถแยกแยะความแตกตาง
ระหวางคน สัตวสิ่งของ และวัตถุรอบ ๆ ตัวไดภายในเวลาอันรวดเร็ว จึงนิยมใชภาพ
ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวในการสื่อสารระหวางมนุษย สื่อที่นิยมใชมักเปน
สื่อผสมโดยผสมระหวางขอความ รูปภาพ (pictures) และ เสียง เปนตน
ภาพที่ตามนุษยมองเห็นนั้น นิยมเรียกวา ฉากหรือซีน (scene) ในงานวิชาการดานการ
ประมวลผลภาพดิจิทัล โดยทั่วไปคําวาซีนจะใชอางอิงถึงภาพ 3 มิติ ที่มีความลึกของ
วัตถุเขามาเกี่ยวของเพิ่มเติมนอกจากคาความกวางและความยาวของวัตถุ แตใน
บางครั้งซีนอาจอางอิงถึงภาพ 2 มิติได เชน ซีนของภาพถายผานดาวเทียม ซึ่งเปนซีน
ที่ถายภาพหรือมองมาจากที่สูงที่คาความลึกของวัตถุมีนัยสําคัญนอย หรือซีนภาพที่
ปรากฎบนสื่อสิ่งพิมพตางๆ เชน หนังสือพิมพ ใบโฆษณาเปนตน สวนคําวาอิมเมจ
(image) จะใชอางอิงถึงภาพนิ่ง 2 มิติ เชน ภาพนิ่งของบุคคล วัตถุ สิ่งของหรือซีนใน
สิ่งพิมพ และมักเกิดจากการถายภาพผานกระจกหรือเลนสชนิดใดชนิดหนึ่ง และเมื่อ
นําภาพถายที่ถายไดไปแปลงใหจัดเก็บดวยเลขฐานสอง จะเรียกภาพนั้นวา ดิจิทัล
อิมเมจ (digital image) หรือภาพดิจิทัล แตในหนังสือการประมวลผลภาพดิจิทัลหลาย
เลมจะเรียกดิจิทัลอิมเมจสั้ นๆ วาอิมเมจ ทั้งนี้เนื่องจากเปนที่ทราบกันดีวาภาพที่ใชใน