Page 30 -
P. 30
ื
ิ
ิ
ั
ุ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
์
ิ
หอสมุดในมุมมองของผบรหารมหาวทยาลัยเกษตรศาสตร
ู้
ิ
์
ถ้ามหาวิทยาลยเกษตรศาสตร จะก้าวไป
์
ั
สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
มหาวิทยาลยสารสนเทศ (e-University), มหาวิทยาลัย
ั
วิ จ ย (r-University), มหาวิ ทยาล ยระด บโลก
ั
ั
ั
่
(w-University) และมหาวิทยาลัยแหงความสุข
้
้
(h-University) ได มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจะตองม ี
์
ิ
ระบบบรหารจดการการศึกษาที่มความเป็นเลิศทาง
ี
ั
ี
ี่
ี
ี
วิชาการ มคณาจารย์ บุคลากร และนิสิตทเป็นคนเก่ง ด มความสุข และโดยเฉพาะอยาง
่
ุ
ี่
้
่
ยิ่งจะตองมสํานักหอสมดทมชีวิต เป็นมากกวาหอสมด กล่าวคือเป็นสถานททใหความร ู้
ุ
้
ี
ี่
ี
ี่
ู้
แบบเมฆความร (Knowledge Cloud) ในทุกศาสตร์แห่งแผ่นดิน (Knowledge of the
ิ
Land) ใหความรและความบันเทง (Edutainment) ภายใตสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
้
้
ู้
(Natural) มีอาคารสถานที่ และธนาคารองค์ความรู้ ทน่ามอง น่าดู น่าเข้ามาศึกษาหา
ี่
ความรู้ และเมอเข้าไปใช้บรการแล้ว มความสุขกาย และสุขใจ
ิ
ี
ื่
์
็
ในหวงเวลากว่าเจดทศวรรษ หอสมุด มหาวิทยาลยเกษตรศาสตร ไดมการพฒนา
้
ี
้
ั
ั
และววัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง จากผลงานของผู้บริหารมหาวิทยาลัย และผู้บริหาร
ิ
ุ
ํ
และบุคลากรของหอสมด จนทาใหหอสมด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
้
ุ
ุ
ิ
เป็นหอสมดชั้นนําของประเทศ ของภูมภาค และของโลก ในรูปแบบหอสมุดที่มีชีวิต
15