Page 90 -
P. 90

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี





                       6. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น ชุมชนจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บ  ขน และก าจัดขยะมูลฝอ ย

               ค่าชดเชยความเสียหายในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ และค่ารักษาพยาบาลหากประชาชนได้รับโรคภัยไข้เจ็บจากพิษ
               ของขยะมูลฝอย



                       สถานการณ์ขยะของไทยตามรายงานของกรมควบคุมมลพิษระบุว่า ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมี
               ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยขยะมูลฝอยเป็นขยะที่มีปริมาณมากที่สุดของประเทศไทย โดยปี  2555 มี

               ขยะมูลฝอยประมาณ 16  ล้านตัน ซึ่งเป็นขยะที่เกิดขึ้นในกรุงเทพฯ ร้อยละ  22  หรือเฉลี่ย 9,800  ตันต่อวัน
               ส าหรับขยะกลุ่มนี้ก าจัดอย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการเพียง  5.8  ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 36  ที่เหลืออีกกว่า 10

               ล้านตัน ก าจัดโดยการเผาทิ้ง กองทิ้งในบ่อดินเก่าหรือพื้นที่รกร้างดังภาพที่ 1


























               ภาพที่ 1 ปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ ปี 2543-2553 (ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ)


                       ทั้งนี้ มีการน าขยะมูลฝอยบางส่วนทั้งที่มาจากชุมชนและภาคอุตสาหกรรมมาคัดแยกเพื่อน าไปใช้

               ประโยชน์ เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติก หรือกระดาษ ก็น าไปรีไซเคิลได้ ส่วนขยะจากชุมชนส่วนอื่นๆ เช่น ขยะ
               อินทรีย์ก็ท าเป็นปุ๋ยหรือผลิตก๊าซชีวภาพ และน าไปผลิตพลังงานทดแทน



                       ด้านของเสียอันตรายก็เพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ ทุกปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม ที่
               เหลือคือของเสียอันตรายจากชุมชน รวมถึงซากเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และขยะมูลฝอยติดเชื้อทั้งนี้

               ขยะกว่าร้อยละ 70 มาจากอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก กรุงเทพฯ และปริมณฑลดังภาพที่ 2 และ 3














                                                                                                         2

                                                           87
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95