Page 206 -
P. 206

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   194


                   สวนประกอบสําคัญของเครื่องอัดรีด คือ สกรู (Screw) การเลือกใชสกรูจะขึ้นกับชนิดของพลาสติก

                   เชน สกรูคู (Twin screw) เกิดแรงเฉือนนอยกวาสกรูเดี่ยว จึงเหมาะสําหรับพลาสติกที่ทนทานตอ
                   อุณหภูมิสูงไมได เปนตน คุณลักษณะสําคัญที่ใชพิจารณาเลือกใชสกรู ไดแก
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                               L/D ratio เปนสัดสวนระหวางความยาวของสกรูกับเสนผาศูนยกลาง โดยทั่วไปมีคา
                                 15:1 ถึง 30:1

                               Compression ratio หมายถึง สัดสวนปริมาตรระหวางเกลียวสกรู 1 ชอง ที่ปลาย

                                 ดานชองใสพลาสติก หรือ Hopper ตอปริมาตรระหวางเกลียวสกรู 1 ชอง ที่ปลาย
                                 ดานทางออกดาย (Die end) โดยทั่วไปปริมาตรระหวางเกลียวสกรูจะคอยๆ ลดลง

                                 ตามระยะทางที่พลาสติกเคลื่อนที่ไป เพื่อเพิ่มความดันที่อัดพลาสติกทําใหขับเคลื่อน
                                 ไปจนถึงทางออกไดรวดเร็ว โดยทั่วไป Compression ratio มีคา 2:1 ถึง 4:1




                                                         Volume  of  one  flight  at  hopper
                                    Compressio  n  ratio 
                                                         Volume  of  one  flight  at  die  end



                   เครื่องอัดรีดมีลักษณะเปนทอยาว เรียกวา บารเรล (Barrel) แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้
                   (1)  Feed section เปนบริเวณปลายดานชองใสพลาสติก เกลียวสกรูมีความลึกมาก ปริมาตรของ

                         ชองระหวางเกลียวสกรู (Flight) มีคาสูง สกรูจะหมุนพาพลาสติกไปในบารเรลเพื่อทําใหคอยๆ
                         หลอม โดยใชความรอนที่ใหเขามาจากภายนอกและความรอนที่เกิดจากแรงเสียดทาน

                   (2)  Compression section เปนบริเวณกลางๆ บารเรล ปริมาตรของชองระหวางเกลียวสกรูจะ
                         คอยๆ ลดลง ทําใหเกิดแรงดันบีบอัดพลาสติกหลอม การเคลื่อนที่ของสกรูจะทําใหพลาสติก
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                         ผสมเปนเนื้อเดียวกันและเกิดแรงเฉือนซึ่งสงผลใหเกิดความรอนจากการเสียดทานมากขึ้น

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                         และทําใหพลาสติกหลอมเหลวไดสมบูรณ
                   (3)  Metering section เปนบริเวณปลายบารเรล พลาสติกหลอมจะถูกผสมใหเขากันดียิ่งขึ้นและสง

                         มาที่ดาย ปริมาตรของชองระหวางเกลียวสกรูลดลงมาก สรางแรงดันสูงเพื่อดันพลาสติกหลอม
                         ออกมาที่ดาย ซึ่งอาจเปนแบบวงแหวน เรียกวา Annular die หรือแบบเสนตรงคลายตัวอักษร
                         T เรียกวา T-die หรือ Slit die ขึ้นกับวิธีการขึ้นรูปฟลม





                   1.2  การขึ้นรูปฟลมดวยการเปา (Blown film process)

                   การขึ้นรูปฟลมดวยการเปา ใชผลิตไดทั้งแผนฟลม (Flat film) และทอฟลม (Tubular film) พลาสติก
                   หลอมจะถูกสกรูดันออกมาที่ดาย ซึ่งมีรูปรางคลายวงแหวน เรียก Annular die ไดเปนทอพลาสติก
                   กลวงแลวถูกเปาขยายดวยอากาศความดันสูงใหไดขนาดของทอตามตองการ ซึ่งขึ้นกับความหนา








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211