Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                         1



                                                            บทที่ 1

                                                            บทนํา

                       1. หลักการและเหตุผล


                            สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.) เปนรัฐวิสาหกิจประเภทสงเสริม
                       ไมแสวงหากําไร สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จัดตั้งโดยพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห
                       การทําสวนยาง เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2503 และตอมาไดมีการปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติกองทุน

                       สงเคราะหการทําสวนยาง 3 ครั้ง พ.ศ.   2505 พ.ศ.  2518 และ พ.ศ.  2530 มีวัตถุประสงคเพื่อ
                       ชวยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางใหมีรายไดเพิ่มขึ้นโดยการปลูกแทนสวนยางเกาที่ใหผลผลิตนอย
                       ดวยยางพันธุดีหรือไมยืนตนชนิดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ และยังเปดโอกาสใหเกษตรกรที่ไมเคยมี
                       สวนยางมากอน ไดมีทางเลือกในการประกอบอาชีพการทําสวนยาง ซึ่งเปนอาชีพที่มั่นคงยิ่งขึ้น

                       นอกจากนี้ สกย. มีภารกิจที่ตองดําเนินการตามนโยบายของรัฐบาล ไดแก การจัดตลาดประมูลยาง
                       ระดับทองถิ่น การสรางโรงผลิตยางแผนผึ่งแหง/ รมควัน เพื่อเปนการพัฒนาคุณภาพผลผลิตยางใหได
                       มาตรฐานเปนการยกระดับรายไดของเกษตรกรชาวสวนยางโดยใชจายเงินงบประมาณแผนดิน

                            สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีแนวทางการดําเนินงานตามแผนวิสาหกิจ

                       ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2555 - 2559) ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตร ดังนี้ 1)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                       มุงเนนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ เรงรัดใหมีการปลูกยางพันธุดีหรือไมยืนตนที่มีความสําคัญ
                       ทางเศรษฐกิจ 2)  สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร  สนับสนุนใหเกิดการ
                       รวมตัวของเกษตรกรชาวสวนยางขนาดเล็ก เพื่อเปนสถาบันเกษตรกรและมีการดําเนินการที่มี
                       มาตรฐานตอเนื่อง เชื่อมโยงเปนเครือขายสถาบันเกษตรกรเพื่อใหสามารถพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในดาน

                       การผลิต การแปรรูป และการตลาด 3)  พัฒนาระบบตลาดยางพารา จัดใหมีตลาดประมูลยางระดับ
                       ทองถิ่น เพื่อรองรับผลผลิตยางพาราครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริม ใหเกษตรกรขายผลผลิตไดในราคา
                       ที่เปนธรรมโดยระดับราคาสูงกวาตนทุนการผลิตของเกษตรกร พัฒนาเครือขายและระบบตลาดยาง

                       ใหเกษตรกรทั่วประเทศสามารถขายยางไดในราคาใกลเคียงกัน สรางกลไกในการเผยแพรขอมูล
                       ขาวสารและวิเคราะหสถานการณเรงดวน 4)   เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร
                       เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ
                       สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง และความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหการปฏิบัติงาน

                       เปนไปตามเปาหมาย วัตถุประสงค และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักจริยธรรมและ
                       การกํากับที่ดี ควบคูไปกับการใสใจสังคมและสิ่งแวดลอม

                            สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางตองดําเนินการตามยุทธศาสตรทั้ง 4 ยุทธศาสตร
                       ขางตน ผานการบริหารงาน 2 ระดับ คือ ระดับนโยบาย มีหนาที่กําหนดนโยบาย ดูแลกํากับ ติดตาม
                       ผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่กําหนด ไดแก คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง (กสย.)

                       ระดับปฏิบัติ แบงได 2  สวน คือ 1) สวนกลาง มีหนาที่ในการบริหารกํากับ ติดตาม ประเมินผลการ
                       ปฏิบัติงานและงานดานอํานวยการ เพื่อใหการปฏิบัติงานในพื้นที่เกิดประสิทธิภาพ สํานักงานกลาง
                       ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครฯ ประกอบดวยสวนงานระดับฝายจํานวน  12  สวนงาน 2) สวนภูมิภาค
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19